ตราแผ่นดินของแคนาดา
ตราแผ่นดินของแคนาดา (มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ตราอาร์มแห่งแคนาดา[1][2][3][4][5][6][7][8] หรือมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ตราแผ่นดินของแคนาดา ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร)[1][9][10] และ ใช้เป็นตราประจำพระประมุขสูงสุดแห่งแคนาดา ประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2411 โดยได้รับแรงบันดาลใจจากการออกแบบตราจากตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร พร้อมกับมีการปรับแก้ไขลักษณะบางอย่างของตราให้เหมาะสม
ตราแผ่นดินของแคนาดา | |
---|---|
ตราอาร์มรุ่นต่าง ๆ | |
ตราอาร์มย่อแห่งแคนาดา | |
รายละเอียด | |
ผู้ใช้ตรา | พระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร ในฐานะพระประมุขสูงสุดแห่งแคนาดา |
เริ่มใช้ | พ.ศ. 2411 (ประกาศใช้ครั้งแรก) 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464 (ประกาศใช้แบบตราปัจจุบัน) |
เครื่องยอด | สิงห์ยืนหันหน้าสวมมงกุฎอิมพีเรียลสเตทบนหัวและยืนบนแพรประดับสีแดง-ขาว เหนือชุดเกราะนักรบส่วนศีรษะ เหนือมงกุฎแห่งแคนาดา. |
แพรประดับ | ช่อเมเปิลสีแดง-ขาวและเออร์มิน |
โล่ | ช่องที่ 1 ช่องมุมบนซ้าย รูปสิงโตอังกฤษโบราณสีเหลือง 3 ตัวบนพื้นสีแดง แทนอังกฤษ ช่องที่ 2 ช่องมุมบนขวา รูปสิงโตสกอตโบราณสีแดงในกรอบขอบลายสกอตสีแดงบนพื้นเหลือง แทนสกอต ช่องที่ 3 ช่องกลางซ้าย รูปฮาร์พเกลลิคสีทองบนพื้นนำเงิน แทนไอร์แลนด์ ช่องที่ 4 ช่องกลางขวา รูปสัญลักษณ์ดอกลิลลีสีทอง 3 ดอกบนพื้นนำเงิน แทนฝรั่งเศส ช่องที่ 5 ช่องล่างสุด รูปใบเมเปิ้ล 3 ใบใน 1 กิ่งบนพื้นสีขาว แทนแคนาดา |
ประคองข้าง | สิงห์สีทอง ถือธงยูเนียนแจ็ก และยูนิคอร์นสีเงิน ถือธงดอกเฟลอร์เดอลีส์. |
ฐานรองข้าง | กุหลาบ (กุหลาบทิวดอร์, กุหลาบขาวแห่งยอร์ก, กุหลาบแดงแห่งแลงคาสเตอร์), แชมร็อค และ ซิสเซิล. |
คำขวัญ | ละติน: A Mari usque ad Mare (จากทะเลสู่ทะเล) |
อิสริยาภรณ์ | แพรริบบิ้นเครื่องราชอิสริยาภรณ์แคนาดา ภายในจารึกว่าละติน: Desiderantes Meliorem Patriam "they desire a better country." |
การใช้ | รัฐบาลแคนาดา ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร |
ประวัติ
แก้ศควรรษที่ 19
แก้ยุคแรกใช้ในช่วงปี พ.ศ. 2411-2464 เดิมตราแผ่นดินแบ่งเป็นโล่ 4 ช่อง เพื่อแสดงถึงจังหวัดทั้ง 4 คือ ออนตาริโอ ควิเบก โนวาสโกเชีย นิวบรันส์วิก แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดคือ
- ช่องที่ 1 ช่องมุมบนซ้าย ออนตาริโอ รูปกากบาทเซนต์จอร์จสีแดงด้านบนโล่ และใบเมเปิลสีเหลือง3ใบใน1กิ่งบนพื้นโล่สีเขียว
- ช่องที่ 2 ช่องมุมบนขวา ควิเบก รูปกากบาทเซนต์จอร์จสีขาวบนพื้นนำเงิน แต่ละช่องมีรูปสัญลักษณ์ดอกลิลลีสีขาววางตรงกลางช่อง
- ช่องที่ 3 ช่องมุมล่างซ้าย โนวาสโกเชีย รูปกากบาทเซนต์แอนดรูว์สีน้าเงินบนพื้นขาว ตรงกลางกากบาทมีโล่รูปสิงโตสกอตโบราณสีแดงในกรอบขอบลายสกอตสีแดงบนพื้นเหลือง แทนสกอต
- ช่องที่ 4 ช่องมุมล่างขวา นิวบรันส์วิก รูปสิงโตอังกฤษโบราณสีเหลืองตัวเดียวบนพื้นสีแดงด้านบนโล่ และมีรูปเรือใบโบราณที่แล่นในทะเลบนพื้นท้องฟ้าสีเหลือง
พ.ศ. 2411-2413 | พ.ศ. 2413-2416 | พ.ศ. 2416-2439 | พ.ศ. 2439-2450 | พ.ศ. 2450-2464 |
ศควรรษที่ 20
แก้ในช่วง พ.ศ. 2464-2537 ได้เปลี่ยนตราใหม่เป็นตราอาร์มแบ่งเป็น 5 ช่อง ซึ่งแต่ละช่องมีความหมายดังนี้คือ
- ช่องที่ 1 ช่องมุมบนซ้าย รูปสิงโตอังกฤษโบราณสีเหลือง 3 ตัวบนพื้นสีแดง แทนอังกฤษ
- ช่องที่ 2 ช่องมุมบนขวา รูปสิงโตสกอตโบราณสีแดงในกรอบขอบลายสกอตสีแดงบนพื้นเหลือง แทนสกอต
- ช่องที่ 3 ช่องกลางซ้าย รูปฮาร์พเกลลิคสีทองบนพื้นนำเงิน แทนไอร์แลนด์
- ช่องที่ 4 ช่องกลางขวา รูปสัญลักษณ์ดอกลิลลีสีทอง 3 ดอกบนพื้นนำเงิน แทนฝรั่งเศส
- ช่องที่ 5 ช่องล่างสุด รูปใบเมเปิ้ล 3 ใบใน 1 กิ่งบนพื้นสีขาว แทนแคนาดา แต่รูปแบบใบเมเปิลที่ใช้มีการเปลี่ยนแปลง 2 ครั้ง คือ ใน พ.ศ. 2465-2500 ใช้รูปใบเมเปิ้ลเป็นใบสีเขียว ต่อมาเปลี่ยนเป็นใบเมเปิ้ลเป็นใบสีแดงในช่วง พ.ศ. 2500-2537
ตราแผ่นดินของแคนาดาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ เริ่มใช้มาตั้ง พ.ศ. 2537
ตราแผ่นดินแคนาดา พ.ศ. 2448 | ตราแผ่นดินแคนาดา พ.ศ. 2464-2500 | ตราแผ่นดินแคนาดา พ.ศ. 2500-2537 | ตราแผ่นดินแคนาดา พ.ศ. 2537 |
ความหมาย
แก้ราส่วนประกอบ | รายละเอียด | รูปภาพ |
---|---|---|
มงกุฎราชาภิเษก | แบบมงกุฎราชาภิเษกที่ใช้เป็นเครื่องหมายยศนายทหาร (นายพัน และ นายพล) มงกุฎทิวดอร์ ที่ใช้มาตั้งแต่ ค.ศ. 1902 [3] เปลี่ยนเป็นมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953 ในรัชสมัย สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ใช้เป็นสัญลักษณ์ปรากฏในตราสัญลักษณ์ ตราอาร์ม และ ตราราชการอื่นๆ.[11][12] | |
เครื่องยอด | สิงโตสวมมงกุฎถือในเมเปิ้ลสีแดงบนยืนบนแพรประดับสีแดง-ขาว,[11] ตราดังกล่าวนี้ใช้เป็นตราราชการของ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แห่งแคนาดา.[13] โดยปรากฎบนธงประจำตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์.[13] | |
แพรประดับ | ชุดเกราะนักรบส่วนศีรษะ ประกอบแพรประดับช่อเมเปิลสีแดง-ขาว และ เออร์มิน.[14] | |
โล่กลาง | ช่องที่ 1 ช่องมุมบนซ้าย รูปสิงโตอังกฤษโบราณสีเหลือง 3 ตัวบนพื้นสีแดง แทนอังกฤษ [15] ช่องที่ 2 ช่องมุมบนขวา รูปสิงโตสกอตโบราณสีแดงในกรอบขอบลายสกอตสีแดงบนพื้นเหลือง แทนสกอต ช่องที่ 3 ช่องกลางซ้าย รูปฮาร์พเกลลิคสีทองบนพื้นนำเงิน แทนไอร์แลนด์ ช่องที่ 4 ช่องกลางขวา รูปสัญลักษณ์ดอกลิลลีสีทอง 3 ดอกบนพื้นนำเงิน แทนฝรั่งเศส[16] ช่องที่ 5 ช่องล่างสุด รูปใบเมเปิ้ล 3 ใบใน 1 กิ่งบนพื้นสีขาว แทนแคนาดา.[17] |
|
แถบแพรริบบิ้น | แพรริบบิ้นเครื่องราชอิสริยาภรณ์แคนาดา[18] ภายในจารึกข้อความว่า desiderantes meliorem patriam, meaning "desiring a better country, ยกมาจาก จดหมายถึงชาวฮีบรู 11:16.[19] .[11] | |
คำขวัญ | a mari usque ad mare (จากทะเลสู่ทะเล), ยกมาจากหนังสือเพลงสดุดี 72:8.[20] This phrase was suggested by Joseph Pope, then-Under Secretary of State, when the Arms were redesigned in 1921.[21] The motto was originally used in 1906 on the head of the mace of the Legislative Assembly of Saskatchewan.[20]
In March 2006, the premiers of Canada's three territories called for the amendment of the motto to better reflect the vast geographic nature of Canada's territory,[22] as Canada has coastlines on the Arctic, Atlantic, and Pacific Oceans. Two suggestions for a new motto are A mari ad mare ad mare (from sea to sea to sea) and A mari usque ad maria (from the sea to the other seas).[23][24] |
|
ประคองข้าง | ประคองข้างของตราแผ่นดินขแห่งแคนาดาได้รับอิทธิพลจากตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร.[21] The English lion[11] สิงห์โตสีทองแห่งอังกฤษ ถือธงยูเนียนแจ็ก . [11] และ ยูนิคอร์นสีเงินแห่งสกอตแลนด์ ถือธงดอกเฟลอร์เดอลีส์.[21] ฉะนั้นยูนิคอร์นที่ใช้ในอิสริยาภรณ์จึงเป็นยูนิคอร์นที่ล่ามโซ่ เช่นเดียวกับยูนิคอร์นสองตัวที่ประคองข้างตราแผ่นดินของสกอตแลนด์.[11] | |
ฐานรองข้าง | กุหลาบทิวดอร์ หมายถึง อังกฤษ และ เวลส์, ประกอบด้วย กุหลาบขาวแห่งยอร์ก และ กุหลาบแดงแห่งแลงคาสเตอร์.[21] แชมร็อค, และ ซิสเซิล หมายถึง สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์[11], ดอกเฟลอร์เดอลีส์ หมายถึงสัญลักษณ์ของราชวงศ์บูร์บงแห่งฝรั่งเศส ตั้งแต่ ศตวรรษที่ 12.[21][25] |
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Department of Canadian Heritage (2008). "Canada: Symbols of Canada" (PDF). Ottawa: Queen's Printer for Canada: 6. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-06-11. สืบค้นเมื่อ 9 September 2009.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ http://www2.parl.gc.ca/HousePublications/Publication.aspx?Language=E&Mode=1&Parl=35&Ses=1&DocId=2332530#ROYALARMSOFCANADA. Parliamentary Debates (Hansard). Commons. 5 December 1995. col. 1410–1415.
{{cite book}}
:|chapter-url=
missing title (help) "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-06-15. สืบค้นเมื่อ 2022-10-31.{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ 3.0 3.1 Military Police Complaints Commission. "The Commission > Publications > Outlook With Vision: Annual Report 2001". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-24. สืบค้นเมื่อ 28 June 2009.
- ↑ Bank of Canada. "Currency Museum > Learning Centre". Queen's Printer for Canada. สืบค้นเมื่อ 28 June 2009.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Reynolds, Ken. "Pro Valore: Canada's Victoria Cross" (PDF) (2 ed.). Ottawa: Queen's Printer for Canada: 40. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-23. สืบค้นเมื่อ 31 July 2009.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ Department of National Defence. "Features > 2008 > Modern Canadian Victoria Cross unveiled at Rideau Hall". Queen's Printer for Canada. สืบค้นเมื่อ 4 August 2009.
- ↑ Bousfield, Arthur (2002). Fifty Years the Queen. Toronto: Dundurn Press. p. 35. ISBN 1-55002-360-8.
{{cite book}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) (help) - ↑ Citizenship and Immigration Canada (2009). Discover Canada (PDF). Ottawa: Queen's Printer for Canada. pp. 38, 61. ISBN 978-1-100-12739-2. สืบค้นเมื่อ 3 December 2009.
- ↑ "The Coat of Arms of Canada – A Short History". Royal Heraldry Society of Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-30. สืบค้นเมื่อ 28 June 2009.
- ↑ Treasury Board of Canada Secretariat. "Federal Identity Program > Top 10 Policy Guidance Issues". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-15. สืบค้นเมื่อ 4 February 2011.
- ↑ 11.0 11.1 11.2 11.3 11.4 11.5 11.6 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อRHSC
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อfraser2
- ↑ 13.0 13.1 "Symbols of the Governor General". Rideau Hall. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อsymbols
- ↑ "Royal Arms of Britain". Heraldica.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 December 2008. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
- ↑ "The History of Heraldry in Canada". Royal Heraldry Society of Canada. 28 เมษายน 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 มีนาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2008.
- ↑ "Symbols of Canada" (PDF). Canadian Heritage. 2008. p. 9. สืบค้นเมื่อ 20 November 2008.
- ↑ "The Constitution of the Order of Canada". Governor General of Canada. 6 December 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 May 2011. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
- ↑ "The Canadian Heraldic Authority". Canadian Heraldic Authority. 27 September 2005 [updated 14 June 2006]. สืบค้นเมื่อ 2 September 2008.
- ↑ 20.0 20.1 Lamb, W. Kaye. "A Mari usque ad Mare". The Canadian Encyclopedia. Historica Foundation of Canada. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2007. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
- ↑ 21.0 21.1 21.2 21.3 21.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อdescription
- ↑ Andrew Chung (28 October 2007). "Time to herald our northern coast?". The Star. Toronto. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 October 2008. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
- ↑ Deveau, Scott (3 กันยายน 2006). "From sea to sea to sea". Theglobeandmail.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 มกราคม 2012. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2008.
- ↑ CBC News (10 March 2006). "'To sea' or not 'to sea': that is the question". Cbc.ca. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
- ↑ Lewis, Philippa; Darley, Gillian (1986). Dictionary of Ornament. Pantheon. ISBN 978-0394509310.