ชาวเบงกอล
ชาวเบงกอล (เบงกอล: বাঙালি; อังกฤษ: Bengali, Bangalee)[31] คือกลุ่มชาติพันธุ์อินโด-อารยันกลุ่มหนึ่งที่เป็นชนพื้นเมืองของภูมิภาคเบงกอลในเอเชียใต้ หรือระบุให้แคบลงคือ ส่วนตะวันออกของอนุทวีปอินเดียซึ่งปัจจุบันถูกแบ่งระหว่างประเทศบังกลาเทศกับรัฐเบงกอลตะวันตก, รัฐตริปุระ และหุบเขาพราก (Barak) ในรัฐอัสสัมของประเทศอินเดีย ชาวเบงกอลพูดภาษาเบงกอลซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน บางครั้งชื่อ "เบงกอล" (Bangalee) ยังใช้เรียกแทนชาวบังกลาเทศในฐานะประชาชาติด้วย[32]
বাঙালি | |
---|---|
ประชากรทั้งหมด | |
ป. 261 ล้านคน[1][2][3] | |
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ | |
เบงกอล | |
![]() | 162,951,560 คน[4] |
![]() | 97,237,669 คน[5] |
![]() | 2,000,000 คน[6][7][8][9] |
![]() | 1,309,004 คน[10] |
![]() | 1,089,917 คน[11] |
![]() | 451,000 คน[12] |
![]() | 280,000 คน[13] |
![]() | 257,740 คน[14][15][a] |
![]() | 221,000 คน[16] |
![]() | 200,000 คน[17] |
![]() | 135,000 คน[18] |
![]() | 100,000 คน[19] |
![]() | 97,115 คน[20] |
![]() | 69,420 คน[21] |
![]() | 54,566 คน[22] |
![]() | 26,582 คน[23] |
![]() | 13,600 คน[24] |
![]() | 12,374 คน[25] |
![]() | 8,000 คน[ต้องการอ้างอิง] |
ภาษา | |
เบงกอล | |
ศาสนา | |
![]()
![]() | |
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง | |
ชาวอินโด-อารยัน |
ชาวเบงกอลเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากชาวฮั่นและชาวอาหรับ[33] นอกเหนือจากบังกลาเทศและรัฐเบงกอลตะวันตก, รัฐตริปุระ และหุบเขาพรากในรัฐอัสสัมของอินเดียแล้ว ประชากรชาวเบงกอลส่วนใหญ่ยังอาศัยอยู่ในดินแดนสหภาพหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ของอินเดีย เช่นเดียวกับเขตเนินเขาจิตตะกองของบังกลาเทศ (ซึ่งแต่เดิมไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเบงกอล) โดยมีประชากรอย่างมีนัยสำคัญในเดลี, รัฐอรุณาจัลประเทศ, รัฐฉัตตีสครห์, รัฐฌารขัณฑ์, รัฐเมฆาลัย, รัฐมิโซรัม, รัฐนาคาแลนด์ และรัฐอุตตราขัณฑ์ของอินเดีย[34] ชาวเบงกอลพลัดถิ่นทั่วโลก (ชาวบังกลาเทศพลัดถิ่นและชาวอินเดียเชื้อสายเบงกอล) มีชุมชนถาวรในปากีสถาน, สหรัฐ, สหราชอาณาจักร, แคนาดา, ตะวันออกกลาง, ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอิตาลี
ชาวเบงกอลมีกลุ่มย่อยทางศาสนาที่สำคัญสี่กลุ่ม ได้แก่ ชาวมุสลิมเบงกอล, ชาวฮินดูเบงกอล, ชาวคริสต์เบงกอล และชาวพุทธเบงกอล
เชิงอรรถแก้ไข
- ↑ รวมชาวอเมริกันเชื้อสายบังกลาเทศและชาวอเมริกันเชื้อสายเบงกอลอินเดียซึ่งมีบรรพบุรุษมาจากเบงกอลตะวันตก, หุบเขาพราก และตริปุระ
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ ชาวเบงกอล at Ethnologue (21st ed., 2018)
- ↑ "2011 Indian census" (PDF).
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 Bangladesh Archived 2017-12-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน- CIA World Factbook
- ↑ "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
- ↑ "Scheduled Languages in descending order of speaker's strength – 2011" (PDF). Registrar General and Census Commissioner of India. 29 June 2018.
- ↑ "Five million illegal immigrants residing in Pakistan". Express Tribune.
- ↑ "Homeless In Karachi". Outlook. สืบค้นเมื่อ 2 March 2010.
- ↑ "Falling back". Daily Times. 17 ธันวาคม 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 October 2013. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
{{cite news}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - ↑ van Schendel, Willem (2005). The Bengal Borderland: Beyond State and Nation in South Asia. Anthem Press. p. 250. ISBN 9781843311454.
- ↑ "Migration Profile - Saudi Arabia" (PDF).
- ↑ "Migration Profile – UAE" (PDF).
- ↑ "2011 Census: Ethnic group, local authorities in the United Kingdom". Office for National Statistics. 11 October 2013. สืบค้นเมื่อ 28 February 2015.
- ↑ "Population of Qatar by nationality – 2017 report". สืบค้นเมื่อ 7 February 2017.
- ↑ "US Census Bureau American Community Survey (2009–2013) See Row #62".
- ↑ "ASIAN ALONE OR IN ANY COMBINATION BY SELECTED GROUPS: 2015". U.S. Census Bureau. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-03. สืบค้นเมื่อ 15 October 2015.
- ↑ Aina Nasa (27 July 2017). "More than 1.7 million foreign workers in Malaysia; majority from Indonesia". New Straits Times. สืบค้นเมื่อ 22 October 2017.
- ↑ "Kuwait restricts recruitment of male Bangladeshi workers". Dhaka Tribune. 7 September 2016. สืบค้นเมื่อ 7 September 2016.
- ↑ "In pursuit of happiness". Korea Herald. 8 October 2012.
- ↑ "Bangladeshis in Singapore". High Commission of Bangladesh, Singapore. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 November 2014.
- ↑ "Bahrain: Foreign population by country of citizenship". gulfmigration.eu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-16. สืบค้นเมื่อ 1 January 2015.
- ↑ "NHS Profile, Canada, 2011, Census Data". Government of Canada, Statistics Canada. 8 May 2013. สืบค้นเมื่อ 4 February 2015.
- ↑ "Census shows Indian population and languages have exponentially grown in Australia". SBS Australia. สืบค้นเมื่อ 28 June 2017.
- ↑ "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 18 September 2017. สืบค้นเมื่อ 8 July 2018.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|dead-url=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help)CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ "체류외국인 국적별 현황", แม่แบบ:Asiantitle, South Korea: Ministry of Justice, 2013, p. 290, สืบค้นเมื่อ 5 June 2014
- ↑ "バングラデシュ人民共和国(People's Republic of Bangladesh)". Ministry of Foreign Affairs (Japan) (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 29 October 2017.
- ↑ Comparing State Polities: A Framework for Analyzing 100 Governments By Michael J. III Sullivan, pg. 119
- ↑ "BANGLADESH 2015 INTERNATIONAL RELIGIOUS FREEDOM REPORT" (PDF).
- ↑ Andre, Aletta; Kumar, Abhimanyu (23 December 2016). "Protest poetry: Assam's Bengali Muslims take a stand". Aljazeera. Aljazeera. สืบค้นเมื่อ 26 January 2017.
Total Muslim population in Assam is 34.22% of which 85% are Bengali Muslims according to this source which puts the Bengali Muslim percentage in Assam as 29.08%
- ↑ "Population Housing Census" (PDF).
- ↑ "Data on Religion". Census of India (2001). Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 26 August 2006.
- ↑ "Bangalees and indigenous people shake hands on peace prospects" (ภาษาอังกฤษ). Dhaka Tribune. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-11. สืบค้นเมื่อ 16 April 2017.
- ↑ "PART I ¶ THE REPUBLIC ¶ THE CONSTITUTION OF THE PEOPLE'S REPUBLIC OF BANGLADESH". Ministry of Law, Justice and Parliamentary Affairs. 2010. สืบค้นเมื่อ 9 September 2017.
- ↑ ประมาณ 163 ล้านคนในบังกลาเทศ และ 100 ล้านคนในอินเดีย (ประมาณการจากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก 2014, ตัวเลขอาจเปลี่ยนแปลงตามการเพิ่มประชากรที่รวดเร็ว); ชาวบังกลาเทศในตะวันออกกลางประมาณ 3 ล้านคน, ชาวเบงกอลในปากีสถาน 1 ล้านคน, ชาวบริติชเชื้อสายบังกลาเทศ 0.4 ล้านคน
- ↑ "50th REPORT OF THE COMMISSIONER FOR LINGUISTIC MINORITIES IN INDIA" (PDF). nclm.nic.in. Ministry of Minority Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 July 2016. สืบค้นเมื่อ 2 November 2018.