ชาวไดยัก

กลุ่มชนพื้นเมืองที่มีถิ่นกำเนิดในกาลิมันตันในอินโดนีเซีย
(เปลี่ยนทางจาก ชาวดายัก)

ไดยัก (Dayak /ˈd.ək/ หรือ Dyak หรือ Dayuh) เป็นคนพื้นเมืองบนเกาะบอร์เนียว[3] มีความหมายกว้าง ๆ ที่หมายถึงคนกลุ่มชาติพันธุ์ย่อยที่ตั้งถิ่นฐานบนเขาและริมแม่น้ำมากกว่า 200 กลุ่ม โดยมากตั้งถิ่นฐานอยู่ตอนกลางและใต้ภายในเกาะบอร์เนียว แต่ละกลุ่มมีภาษาถิ่น ขนบธรรมเนียม กฎหมาย แนวความคิดและวัฒนธรรมเป็นของตัวเอง แม้ลักษณะพิเศษที่แบ่งแยกจะสามารถจำแนกออกได้ก็ตาม ภาษาไดยักอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ชาวไดยักนับถือลัทธิถือผี อย่างไรก็ตามมีชาวไดยักจำนวนมากเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม และตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 ก็มีการเปลี่ยนศาสนามานับถือศาสนาคริสต์จำนวนมาก[4]

ชาวไดยัก
กลุ่มชาติพันธุ์ย่อยของไดยัก ชาวอีบัน หรือ Sea Dajak ในชุดท้องถิ่น
ประชากรทั้งหมด
5.9 ล้าน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
เกาะบอร์เนียว:
 อินโดนีเซีย3,219,626[1]
          จังหวัดกาลีมันตันตะวันตก1,531,989
          จังหวัดกาลีมันตันกลาง1,029,182
          จังหวัดกาลีมันตันตะวันออก351,437
          จังหวัดกาลีมันตันใต้80,708
          จาการ์ตา45,385
          จังหวัดชวาตะวันตก45,233
          จังหวัดซูลาเวซีใต้29,254
          จังหวัดบันเติน20,028
          จังหวัดชวาตะวันออก14,741
          จังหวัดสุมาตราใต้11,329
 มาเลเซียไม่ทราบ
          รัฐซาราวัก935,935
 บรูไน30,000[2]
ภาษา
ไดยัก, อินโดนีเซีย, อังกฤษ, มลายู (Sarawak Malay)
ศาสนา
ศาสนาคริสต์ (ส่วนมาก)
กาฮารีงัน และ อิสลาม

อ้างอิง แก้

  1. Kewarganegaraan, Suku Bangsa, Agama dan Bahasa Sehari-hari Penduduk Indonesia Hasil Sensus Penduduk 2010 [Citizenship, Ethnicity, Religion and Language Everyday, Indonesian Population Census 2010] (ภาษาอินโดนีเซีย). Indonesian Central Bureau of Statistics. 2011. ISBN 978-979-064-417-5.
  2. "East & Southeast Asia: Brunei". The World Factbook. Central Intelligence Agency. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-21. สืบค้นเมื่อ 3 December 2016.
  3. "Report for ISO 639 code: day". Ethnologue: Countries of the World. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 ตุลาคม 2007.
  4. Chalmers, Ian (2006). "The Dynamics of Conversion: the Islamisation of the Dayak peoples of Central Kalimantan" (PDF). Asian Studies Association of Australia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 March 2014. สืบค้นเมื่อ 3 December 2016.