ชมรมนักวิทยุสมัครเล่น
กิจกรรมวิทยุสมัครเล่น (อังกฤษ: amateur radio หรือ ham radio) เป็นงานอดิเรกอย่างหนึ่งของผู้ที่มีความสนใจในการติดต่อสื่อสารด้วยการส่งคลื่นวิทยุติดต่อกัน เพื่อการทดลอง การศึกษา การให้ความช่วยเหลือระหว่างกัน และการพักผ่อน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น นักวิทยุสมัครเล่นมักเรียกตัวเองว่า ham

ชมรมนักวิทยุสมัครเล่น เป็นการรวมตัวกันของนักวิทยุสมัครเล่น เพื่อพบปะพูดคุย และแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน นอกจากนี้ยังมีการรวมตัวกันของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อร่วมกันทำกิจกรรม ทดลอง ศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร และการแพร่กระจายความถี่วิทยุสื่อสารในแต่ละย่านความถี่
กิจกรรมชมรม แก้ไข
- การทดสอบสัญญาณทางไกล
- การอบรมให้ความรู้
- การจัดตั้งศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางการจราจร ในช่วงเทศกาลต่างๆ
- ช่วยเหลือประสานงานกิจกรรมพิเศษต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย
การแข่งขัน แก้ไข
- กีฬาการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณวิทยุ (ARDF)
- CQ World Wide VHF Contest
- Thailand Field Day Contest
ชมรมวิทยุสมัครเล่นภายในสถาบันการศึกษา แก้ไข
ระดับมัธยมศึกษา แก้ไข
ระดับอุดมศึกษา แก้ไข
- ชมรมวิทยุสมัครเล่นและเทคโนโลยีอวกาศเพื่อการวิจัย มจธ. STAR KMUTT
- ชมรมวิทยุสมัครเล่นพระจอมเกล้าพระนครเหนือ RACK
- ชมรมวิทยุสมัครเล่นพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง KRAC [3]
- ชมรมวิทยุสมัครเล่นพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง ชุมพร
- ชมรมนักวิทยุสมัครเล่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- ชมรมนักวิทยุสมัครเล่นมหาวิทยาลัยแม่โจ้ E28AG
- ชมรมวิทยุสมัครเล่นมหาวิทยาลัยกรุงเทพ E20AK
- ชมรมนักวิทยุสมัครเล่นมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ E29AF
- ชมรมวิทยุสมัครเล่นแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ชมรมนักวิทยุสมัครเล่นราชมงคลขอนแก่น RMUTI KKC
- ชมรมนักวิทยุสมัครเล่นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ARC RMUTK
- หน่วยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถานการณ์ฉุกเฉิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ E21AS ภายใต้โครงการโรงประลองทักษะทางวิศวกรรมโทรคมนาคมโดยอาศัยกิจการวิทยุสมัครเล่นและกระบวนการเรียนรู้ทางสังคม สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อ้างอิง แก้ไข
- ↑ มอ.ว.จัด นร.คุยกับนักบินอวกาศแห่งแรกในประเทศ
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-09-01. สืบค้นเมื่อ 2021-09-01.
- ↑ สโมสร / ชมรม / ชุมนุม - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง