ฉบับร่าง:ดัชนีเสรีภาพของสื่อ
ฉบับร่างนี้ถูกตีกลับ เมื่อ 11 มกราคม 2565 โดย Kaoavi (คุย) แก้การใช้ภาษาไวยากรณ์ โดยเฉพาะในย่อหน้าที่ 2-3 คือผมอ่านแล้วมันงง ๆ อยู่นะครับ
ขอความช่วยเหลือ
วิธีปรับปรุงบทความของคุณ
คุณยังสามารถดู วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร และ วิกิพีเดีย:บทความคุณภาพ เพื่อค้นหาตัวอย่างบทความที่ดีที่สุดของวิกิพีเดียในหัวข้อที่คล้ายกับบทความที่คุณแจ้งทบทวน ทรัพยากรการแก้ไข
ฉบับร่างนี้ไม่ได้ถูกแก้ไขมานานกว่าหกเดือน ซึ่งตรงกับเงื่อนไขสำหรับการลบทันที ข้อ ท10 ปฏิเสธโดย Kaoavi 6 เดือนก่อน แก้ไขล่าสุดโดย Kaoavi เมื่อ 6 เดือนก่อน ผู้ทบทวน: ส่งข้อความถึงเจ้าของ |
ความคิดเห็น: ควรแก้เรื่อง ไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน โดยเฉพาะในย่อหน้าที่ 2-3 kaoavi (คุย) 21:31, 10 มกราคม 2565 (+07)
![]() | นี่คือบทความฉบับร่างซึ่งเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถแก้ไขได้ โปรดตรวจสอบว่าเนื้อหามีลักษณะเป็นสารานุกรมและมีความโดดเด่นควรแก่การรู้จักก่อนที่จะเผยแพร่เป็นบทความลงในวิกิพีเดีย กรุณาอดทนรอผู้เขียนคนอื่นมาช่วยตรวจให้ อย่าย้ายหน้าไปเป็นบทความเองโดยพลการ ค้นหาข้อมูล: Google (books · news · newspapers · scholar · free images · WP refs) · FENS · JSTOR · NYT · TWL สำคัญ: ถ้าลบป้ายนี้ออกจะทำให้บันทึกหน้าไม่ได้ ผู้แก้ไขหน้านี้คนล่าสุด คือ Kaoavi (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) เมื่อ 6 เดือนก่อน (ล้างแคช) |
ดัชนีเสรีภาพของสื่อ เป็นการจัดอันดับประจำปีของประเทศต่าง ๆ ที่รวบรวมและจัดพิมพ์โดยองค์กรนักข่าวไร้พรมแดนตั้งแต่ ค.ศ. 2002 โดยอ้างอิงจากการประเมินและบันทึกเสรีภาพสื่อของประเทศต่าง ๆ ขององค์กรในปีก่อนหน้า มีจุดมุ่งหมายเพื่อสะท้อนถึงระดับของเสรีภาพที่ผู้สื่อข่าว หน่วยงานข่าว พลเมืองเครือข่ายที่มีอยู่ในแต่ละประเทศ และความพยายามของทางการในการเคารพเสรีภาพนี้ ดัชนีนี้เกี่ยวข้องกับเสรีภาพของสื่อเท่านั้นไม่ได้วัดคุณภาพของการสื่อสารมวลชนในประเทศที่ประเมิน และไม่พิจารณาถึงการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยทั่วไป[2]
รายงานนี้ใช้แบบสอบถามบางส่วนโดยใช้เกณฑ์ทั่วไป 7 ข้อ[3] ได้แก่ พหุนิยม (วัดระดับการแสดงความคิดเห็นในพื้นที่สื่อ) ความเป็นอิสระของสื่อ สภาพแวดล้อมและการเซ็นเซอร์ กรอบกฎหมาย ความโปร่งใส โครงสร้างพื้นฐาน และระดับความเป็นอิสระของสื่อสาธารณะ
เจ้าหน้าที่ RSF เฝ้าติดตามการใช้ความรุนแรงต่อนักข่าว ชาวเน็ต และผู้ช่วยสื่อ รวมถึงการละเมิดที่เกี่ยวข้องกับรัฐ กองกำลังติดอาวุธ องค์กรลับ ในระหว่างปี คะแนนที่น้อยกว่าในรายงานนี้สอดคล้องกับเสรีภาพของสื่อมวลชนที่มากขึ้นตามที่รายงานโดยองค์กร แบบสอบถามจะถูกส่งไปยังองค์กรพันธมิตรขององค์กรนักข่าวไร้พรมแดน: องค์กรพัฒนาเอกชนด้านเสรีภาพในการแสดงออก 18 องค์กรที่ตั้งอยู่ในห้าทวีป ผู้สื่อข่าว 150 รายทั่วโลก รวมถึงผู้สื่อข่าว นักวิจัย นักกฎหมาย และนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชน[2]
ใน ค.ศ. 2021 ประเทศที่มีอันดับสูงสุดในดัชนีเสรีภาพสื่อ ได้แก่ นอร์เวย์, ฟินแลนด์, สวีเดน, เดนมาร์ก, คอสตาริกา, เนเธอร์แลนด์, จาเมกา, นิวซีแลนด์, ไอร์แลนด์, โปรตุเกส และสวิตเซอร์แลนด์[4] และประเทศที่มีอันดับต่ำที่สุดคือ เอริเทรีย, เกาหลีเหนือ, เติร์กเมนิสถาน, จีน, จิบูตี, เวียดนาม, อิหร่าน, ซีเรีย, ลาว และคิวบา[4]
ดูเพิ่มแก้ไข
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ "2021 World Press Freedom Index". Reporters Without Borders. 2021.
- ↑ 2.0 2.1 How the index was compiled Archived 19 สิงหาคม 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Reporters Without Border, 2013
- ↑ 2020 World Press Freedom Index, Methodology Reporters Without Borders, 2020
- ↑ 4.0 4.1 World Press Freedom Index 2021, Reporters Without Borders