จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน390,560
ผู้ใช้สิทธิ58.58%
  First party Second party Third party
 
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Samak Sundaravej.JPG
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร สมัคร สุนทรเวช พิชัย รัตตกุล
พรรค ชาติไทย ประชากรไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 3 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

ภาพรวม

แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สมพงษ์ พลไวย์ (1) 82,365
ชาติไทย สุชน ชามพูนท (12)* 57,736
ประชากรไทย ยิ่งพันธ์ มนะสิการ (14)* 53,725
ประชากรไทย อุดมศักดิ์ อุชชิน (13) 49,624
กิจประชาคม จ่าเอก คนเด็ด มั่นสีเขียว (4)✔ 32,128
ประชาธิปัตย์ เอื้อมเดือน พลไวย์ (2) 14,821
สหประชาธิปไตย พยับ ปานทอง (17) 13,314
ประชาธิปัตย์ สุธรรม ปาเฉย (3) 10,383
กิจประชาคม ปัญญา ทองรอด (5) 10,226
สหประชาธิปไตย ปกิต รัตนะผล (16) 10,092
ราษฎร (พ.ศ. 2529) มนัส รุ่งเรือง (9) 8,819
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วินัย ศรีวิโรจน์ (7) 6,765
กิจประชาคม สัมฤทธิ์ พลอยงาม (6) 4,154
ประชากรไทย กฤษดา มณีพันธุ์ (15) 2,030
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สุธน ตรีเพชร (20) 1,922
ราษฎร (พ.ศ. 2529) บุลวัชร สุวรรณกิจ (8) 1,618
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ภูวดล สิงห์ลอ (21) 1,352
ชาติไทย พุทธชาติ ศรีสัตนา (11) 1,285
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ลินจง แสงพิทักษ์ (24) 950
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สมิชฌน์ คชสารทอง (23) 838
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) บุบผา นครรัตนชัย (22) 761
ชาติไทย มาโนชย์ รูปิยะเวช (10) 700
รักไทย สมศักดิ์ มีไชยโย (32) 671
รักไทย สุภา สุวิทยะศิริ (33) 561
รักไทย ลำพูน มีไชยโย (31) 538
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) รุ่งโรจน์ สอนประสิทธิ์ (19) 517
สหประชาธิปไตย อนุชาติ อดุลย์ถิระเขตต์ (18) 466
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ปรีชา แย้มรู้การ (27) 238
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) คนึง ไข่แก้ว (25) 198
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พะเยาว์ ปลื้มสระไชย (26) 183
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ไชยา วุฒิวรดิษฐ์ (30) 167
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ยิ่งยศ เจริญศรี (29) 95
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สิบดท ทวี อินทรัตน์ (28) 78
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง และอำเภอเนินมะปราง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ประเทือง วิจารณ์ปรีชา (5)* 43,687
ชาติไทย วีระ ปัทมสิริวัฒน์ (6) 42,754
สหประชาธิปไตย จุติ ไกรฤกษ์ (4) 40,017
สหประชาธิปไตย โกศล ไกรฤกษ์ (3)* 38,913
ประชากรไทย เชื้อชาย สายทอง (2) 2,933
ประชากรไทย จักรพงษ์ สุรเดโช (1) 2,275
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) พนา เย็นเกษ (7) 585
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ประนอม พินิจจันทร์ (14) 272
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ประพันธ์ พารุ่ง (8) 179
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) กัลยา ไทรรอดรุ่ง (13) 177
แรงงานประชาธิปไตย พีระ มารศรี (9) 150
แรงงานประชาธิปไตย อดิสุระ เพียงเกษ (10) 108
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) บัว เตือนจิตร์ (11) 102
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สุบิน กาญจนคงคา (12) 102
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530