จักรวรรดิทิเบต (ทิเบต: བོད་ཆེན་པོ, ไวลี: bod chen po, พินอินทิเบต: pö qen bo, แปลว่า "ทิเบตใหญ่") หรือ ถู่ปัว (จีน: 吐蕃; พินอิน: Tǔbō / Tǔfān) คือจักรวรรดิที่ปกครองพื้นที่แถบที่ราบสูงทิเบตตั้งแต่ช่วง ค.ศ. 618-842 และยังขยายอำนาจไปตลอดแถบภาคตะวันตกของจีน ไปจนถึงเอเชียกลางและเอเชียใต้ ก่อตั้งขึ้นโดยพระเจ้าซงแจ็นกัมโป แต่จักรวรรดิทิเบตก็ได้ล่มสลายลงหลังจากที่กษัตริย์องค์สุดท้ายคือพระเจ้าลังทาร์มาได้สิ้นพระชนม์เนื่องจากเกิดความขัดแย้งเรื่องผู้สืบทอดราชบัลลังก์ระหว่างลูกชายสองคนคือยุมแต็นกับเออซุง

จักรวรรดิทิเบต

བོད་ཆེན་པོ
Bod chen po
ค.ศ. 618–ค.ศ. 842
[ต้องการอ้างอิง]
ธงของพระเจ้าซงแจ็นกัมโป จักรพรรดิทิเบต (คริสต์ศตวรรษที่ 7)
แผนที่จักรวรรดิทิเบตในช่วงสูงสุด (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8-ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9)[1]
แผนที่จักรวรรดิทิเบตในช่วงสูงสุด (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8-ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9)[1]
เมืองหลวงลาซา
ภาษาทั่วไปกลุ่มภาษาทิเบต
ศาสนา
ศาสนาพุทธแบบทิเบต, บอน
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวเผ่าเท็งกรี
การปกครองราชาธิปไตย
จักรพรรดิ 
• 618–650
ซงแจ็นกัมโป, จักรพรรดิองค์ที่ 33 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 650–655
คุงซงคุงแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 34 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 655–676
มังซงมังแจ็น , จักรพรรดิองค์ที่ 35 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 676–704
ชีตวีซงแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 36 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 680–743
ชีเตจุกแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 37 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 753–797
ชีซงเตแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 38 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 797–799
มูเนแจ็นโป, จักรพรรดิองค์ที่ 39 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 800/804 – 815
ชีเตซงแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 40 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 815–838
รัลปาแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 41 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 838–842
ลังทาร์มา, จักรพรรดิองค์ที่ 42 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
เลินเช็น (หัวหน้ารัฐมนตรี) 
• 652–667
การ์ตงแจ็นยวิลซุง
• 685–699
การ์ชีจิงแจ็นเชอ
• 782?–783
แง็นลัมตักจาลูคง
• 783–796
นานัมจังแกยแช็นลานัง
ปันเช็นโป (หัวหน้าพระ) 
• 798–?
ญังติงเงจินซังโป (คนแรก)
• ?–838
แช็นกาแปกยีเยินแต็น (คนสุดท้าย)
ยุคประวัติศาสตร์ปลายสมัยโบราณ
• ก่อตั้ง
ค.ศ. 618
• สิ้นสุด
ค.ศ. 842
พื้นที่
ประมาณ ค.ศ. 800[2][3]4,600,000 ตารางกิโลเมตร (1,800,000 ตารางไมล์)
ก่อนหน้า
ถัดไป
ซุมปา
ซังซุง
เกาชาง
ราชวงศ์ถัง

ประวัติศาสตร์ แก้

สังคม แก้

สิ่งประดิษฐ์ที่ค้นพบของจักรวรรดิทิเบต
เครื่องปั้นดินเผาและขวดทองเก่า 1500 ปี พบที่สุสานในอัมโต
ถ้วยที่ทำจากหินมโนรา
แผ่นสังกะสีทองที่ทาด้วยตัวอักษร
ถ้วยทองแบบมีหูจับ

ดูเพิ่ม แก้

หมายเหตุ แก้

อ้างอิง แก้

  1. Kapstein, Matthew T. (2006). "The Tibetan Empire, late eighth-early ninth centuries". The Tibetans. Chichester, West Sussex: Wiley-Blackwell. p. XX. ISBN 978-0-631-22574-4. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 March 2017. สืบค้นเมื่อ 8 August 2021 – โดยทาง Reed.edu.
  2. Turchin, Peter; Adams, Jonathan M.; Hall, Thomas D (December 2006). "East-West Orientation of Historical Empires". Journal of World-Systems Research. 12 (2): 222. ISSN 1076-156X. สืบค้นเมื่อ 14 September 2016.
  3. Rein Taagepera (September 1997). "Expansion and Contraction Patterns of Large Polities: Context for Russia". International Studies Quarterly. 41 (3): 500. doi:10.1111/0020-8833.00053. JSTOR 2600793.

ข้อมูล แก้

LaRocca, Donald J. Warriors of the Himalayas: Rediscovering the Arms and Armor of Tibet. (2006) Metropolitan Museum of Art. ISBN 0-300-11153-3

  • Beckwith, Christopher I. The Tibetan Empire in Central Asia: A History of the Struggle for Great Power among Tibetans, Turks, Arabs, and Chinese during the Early Middle Ages' (1987) Princeton University Press. ISBN 0-691-02469-3
  • Bushell, S. W. (1880), The Early History of Tibet. From Chinese Sources, Cambridge University Press
  • Lee, Don Y. The History of Early Relations between China and Tibet: From Chiu t'ang-shu, a documentary survey (1981) Eastern Press, Bloomington, Indiana. ISBN 0-939758-00-8
  • Pelliot, Paul. Histoire ancienne du Tibet (1961) Librairie d'Amérique et d'orient, Paris
  • Powers, John. History as Propaganda: Tibetan Exiles versus the People's Republic of China (2004) Oxford University Press. ISBN 978-0-19-517426-7
  • Schaik, Sam van. Galambos, Imre. Manuscripts and Travellers: The Sino-Tibetan Documents of a Tenth-Century Buddhist Pilgrim (2011) Walter de Gruyter ISBN 978-3-11-022565-5
  • Stein, Rolf Alfred. Tibetan Civilization (1972) Stanford University Press. ISBN 0-8047-0901-7
  • Walter, Michael L. (2009), Buddhism and Empire The Political and Religious Culture of Early Tibet, Brill
  • Yamaguchi, Zuiho. (1996). “The Fiction of King Dar-ma’s persecution of Buddhism” De Dunhuang au Japon: Etudes chinoises et bouddhiques offertes à Michel Soymié. Genève : Librarie Droz S.A.
  • Nie, Hongyin. 西夏文献中的吐蕃[ลิงก์เสีย]

อ่านเพิ่ม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้