จักรวรรดิซิกข์ หรือ จักรวรรดิสิกข์ (เปอร์เซีย: سرکارِ خالصه, อักษรโรมัน: Sarkār-ē-Khālsā[10], แปลว่า รัฐบาลขาลสา; ปัญจาบ: ਸਿੱਖ ਖ਼ਾਲਸਾ ਰਾਜ (อักษรคุรมุขี), سکھ خالصا راج (อักษรชาห์มุขี), อักษรโรมัน: Sikkh Khālsā Rāj; สิกข์ขาลสาราช, แปลว่า การปกครองของซิกข์ขาลสา) เป็นอดีตรัฐที่มีอาณาเขตอยู่ในอนุทวีปอินเดีย ตั้งขึ้นภายใต้การนำของมหาราชารณชีต สิงห์ ผู้ก่อตั้งจักรวรรดิฆราวาสนิยมขึ้นในภูมิภาคปัญจาบ[11] จักรวรรดิเริ่มต้นขึ้นในปี 1799 เมื่อมหาราชารณชีต สิงห์ เข้ายึดครองเมืองลาฮอร์ และสิ้นสุดในปี 1849[1][12] ระหว่างจุดรุ่งเรืองสูงสุดของจักรวรรดิในศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิครอบคลุมพื้นที่จากไคเบอร์พาสส์ทางตะวันตกไปถึงทิเบตตะวันตกในทางตะวันออก และจากมิตันโกตในทางใต้ ไปถึงกัศมีร์ในทางเหนือ จักรวรรดิสิกข์มีประชากรราว 3.5 ล้านคนในปี 1831 (ทำให้เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดเป็นลำดับที่ 19) ด้วยประชากรที่มีความหลากหลายทางศาสนาสูง[13]

จักรวรรดิซิกข์

سرکارِ خالصه
Sarkār-ē-Khālsā
ਸਿੱਖ ਖ਼ਾਲਸਾ ਰਾਜ
Sikkh Khālsā Rāj
1799–1849
คำขวัญ
"ਅਕਾਲ ਸਹਾਇ"
("พระเจ้าคือผู้ปกป้องของเรา")
เพลงชาติ
"ਦੇਗ਼ ਤੇਗ਼ ਫ਼ਤਿਹ"
เทคะ เตฆะ ฟะเตห์
("ชัยชนะเพื่อการกุศลและอาวุธ")
จักรวรรดิซิกข์ใน ค.ศ. 1839
จักรวรรดิซิกข์ใน ค.ศ. 1839
เมืองหลวงลาฮอร์
ภาษาทั่วไปราชสำนัก:
เปอร์เซีย[1][2][3]
ศาสนา
การปกครองสหพันธรัฐราชาธิปไตย
มหาราชา 
• 1801–1839
รณชีต สิงห์
• 1839
ขารัก สิงห์
• 1839–1840
นาว นิหัล สิงห์
• 1841–1843
เชร์ สิงห์
• 1843–1849
ทุลีป สิงห์
ผู้สำเร็จราชการ 
• 1840–1841
จันทะ กาวร์
• 1843–1846
ชินทะ กาวร์
วะซีร์ 
• 1799–1818
Jamadar Khushal Singh[4]
• 1818–1843
Dhian Singh Dogra
• 1843–1844
Hira Singh Dogra
• 14 พฤษภาคม 1845 – 21 กันยายน 1845
Jawahar Singh Aulakh
• 1845–1846
ลาล สิงห์
• 31 มกราคม 1846 – 9 มีนาคม 1846
กุหลาบ สิงห์[5]
ยุคประวัติศาสตร์ยุคใหม่ตอนต้น
• รณชีต สิงห์เข้ายึดครองเมืองลาฮอร์
7 กรกฎาคม 1799
29 มีนาคม 1849
พื้นที่
• รวม
260,128[6][7][8] ตารางกิโลเมตร (100,436 ตารางไมล์)
ประชากร
• คริสต์ทศวรรษ 1800
12,000,000[9]
สกุลเงินนานักชาฮีซิกเก (Nanak Shahi Sikke)
ก่อนหน้า
ถัดไป
สมาพันธรัฐซิกข์
จักรวรรดิดูรานี
จักรวรรดิมราฐา
ชัมมูและกัศมีร์ (รัฐมหาราชา)
การปกครองของบริษัทในอินเดีย
• จังหวัดปัญจาบ (บริติชราช)
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ

การก่อตั้งของจักรวรรดิสิกข์เริ่มต้นขึ้นเมื่อมหาราชารณชีต สิงห์ เข้ายึดครองเมืองลาฮอร์จากผู้ปกครองเดิม ซะมัน ชาห์ ดูร์รานี ตามด้วยการค่อย ๆ ขับไล่ชาวอัฟกันออกจากบริเวณผ่านสวครามอัฟกัน-สิกข์ และการรวมกันของมิสล์ (misls) ย่อย ๆ ของชาวซิกข์ในบริเวณ รณชีต สิงห์ แต่งตั้งตนเองเป็นมหาราชาแห่งปัญจาบในวันที่ 12 เมษายน 1801 (ตรงกับวันวิสาขี) โดยมีท่านซาฮิบสิงห์เบดี (Sahib Singh Bedi) ลูกหลานของคุรุนานัก เป็นผู้ประกอบพิธีบรมราชาภิเษก[14]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1   Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). "Ranjit Singh" . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 22 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 892.
  2. Grewal, J. S. (1990). The Sikhs of the Punjab, Chapter 6: The Sikh empire (1799–1849). The New Cambridge History of India. Cambridge University Press. p. 112. ISBN 0-521-63764-3. The continuance of Persian as the language of administration.
  3. Fenech, Louis E. (2013). The Sikh Zafar-namah of Guru Gobind Singh: A Discursive Blade in the Heart of the Mughal Empire. Oxford University Press (USA). p. 239. ISBN 978-0199931453. We see such acquaintance clearly within the Sikh court of Maharaja Ranjit Singh, for example, the principal language of which was Persian.
  4. Grewal, J.S. (1990). The Sikhs of the Punjab. Cambridge University Press. p. 107. ISBN 0-521-63764-3. สืบค้นเมื่อ 15 April 2014.
  5. Satinder Singh, Raja Gulab Singh's Role 1971, pp. 46–50.
  6. Singh, Pashaura (2016). "Sikh Empire". The Encyclopedia of Empire. pp. 1–6. doi:10.1002/9781118455074.wbeoe314. ISBN 9781118455074.
  7. Singh, Rishi (April 23, 2015). State Formation and the Establishment of Non-Muslim Hegemony Post-Mughal 19th-century Punjab. SAGE Publications. ISBN 9789351505044. Ranjit Singh's state covered approximately an area of 100,436 square miles
  8. Herrli, Hans (May 7, 2008). The Coins of Sikhs. Indian Coin Society. p. 20.
  9. Singh, Pashaura (2016). "Sikh Empire". The Encyclopedia of Empire. pp. 1–6. doi:10.1002/9781118455074.wbeoe314. ISBN 9781118455074.
  10. Waheeduddin 1981, p. 15.
  11. "Ranjit Singh: A Secular Sikh Sovereign by K.S. Duggal. (Date:1989. ISBN 8170172446)". Exoticindiaart.com. 3 September 2015. สืบค้นเมื่อ 2009-08-09.
  12. Grewal, J. S. (1990). The Sikhs of the Punjab, Chapter 6: The Sikh empire (1799–1849). The New Cambridge History of India. Cambridge University Press. ISBN 0-521-63764-3.
  13. Amarinder Singh's The Last Sunset: The Rise and Fall of the Lahore Durbar
  14. The Encyclopaedia of Sikhism เก็บถาวร 8 พฤษภาคม 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, section Sāhib Siṅgh Bedī, Bābā (1756–1834).

ข้อมูล แก้

อ่านเพิ่ม แก้

  • Volume 2: Evolution of Sikh Confederacies (1708–1769), By Hari Ram Gupta. (Munshiram Manoharlal Publishers. Date: 1999, ISBN 81-215-0540-2, 383 pages, illustrated).
  • The Sikh Army (1799–1849) (Men-at-arms), By Ian Heath. (Date: 2005, ISBN 1-84176-777-8).
  • The Heritage of the Sikhs By Harbans Singh. (Date: 1994, ISBN 81-7304-064-8).
  • Sikh Domination of the Mughal Empire. (Date: 2000, Second Edition. ISBN 81-215-0213-6).
  • The Sikh Commonwealth or Rise and Fall of Sikh Misls. (Date: 2001, revised edition. ISBN 81-215-0165-2).
  • Maharaja Ranjit Singh, Lord of the Five Rivers, By Jean-Marie Lafont. (Oxford University Press. Date: 2002, ISBN 0-19-566111-7).
  • History of Panjab, By Dr L. M. Joshi and Dr Fauja Singh.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้