กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น
กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น (IJN) (คีวจิไต: 大日本帝國海軍 ชินจิไต: 大日本帝国海軍 หรือ 日本海軍 นิปปง ไคงุง) เป็นกองทัพเรือแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1869 จนถึง ค.ศ. 1947 เมื่อถูกยุบตามรัฐธรรมนูญแห่งประเทศญี่ปุ่นที่จะสละการใช้กองกำลังเป็นวิธีของการยุติข้อขัดแย้งระหว่างประเทศ กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลแห่งญี่ปุ่น (JMSDF) จึงได้มีการจัดตั้งหลังจากการสลายของ IJN[1]
กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น 大日本帝國海軍 | |
---|---|
ธงของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นและกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลแห่งญี่ปุ่น | |
ประจำการ | 1869–1947 |
ประเทศ | จักรวรรดิญี่ปุ่น |
ขึ้นต่อ | กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น |
รูปแบบ | กองทัพเรือ |
ปฏิบัติการสำคัญ | การบุกครองไต้หวันของญี่ปุ่น ค.ศ. 1874 สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง สงครามรัสเซีย–ญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง สงครามโลกครั้งที่สอง |
ผู้บังคับบัญชา | |
ผบ. สำคัญ | โทโง เฮฮาจิโร อิโซโรกุ ยามาโมโตะ อิโต สุเกะยูกิ เจ้าชายฮิโรยาซุ ฟูชิมิโนะมิยะ |
เครื่องหมายสังกัด | |
สัญลักษณ์ | พระราชลัญจกรแผ่นดิน ถูกใช้แทนตราประจำเหล่าทัพ |
ในปี ค.ศ. 1920 กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามในโลก รองก็เพียงแต่กองทัพเรือสหราชอาณาจักรและกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา[2] กองทัพเรือได้รับการสนับสนุนจากกองการบินทหารเรือมหาจักรวรรดิญี่ปุ่นสำหรับอากาศยานและปฏิบัติการโจมตีทางอากาศจากกองเรือ กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นเป็นคู่ต่อสู้หลักของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก
ต้นกำเนิดของกองทัพเรือญี่ปุ่นสามารถสืบย้อนไปถึงตอนต้นของการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย เริ่มต้นในตอนต้นของยุคกลางและไปถึงจุดสูงสุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16–17 ในช่วงเวลาของการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับมหาอำนาจในทวีปยุโรปในระหว่างยุคแห่งการสำรวจ ผ่านไปสองศตวรรษแห่งความซบเซาระหว่างนโยบายสันโดษภายในใต้โชกุนแห่งยุคเอะโดะ กองทัพเรือญี่ปุ่นถูกเปรียบเทียบกับเมื่อในอดีตเมื่อประเทศถูกบังคับให้เปิดการค้าโดยการแทรกแซงของอเมริกาในปี ค.ศ. 1854 เหตุการณ์นี้นำไปสู่การปฏิรูปสมัยเมจิ ประกอบกับการกลับมาสืบเชื้อสายจักรพรรดิ์ในยุคใหม่ที่เรืองรองและการปรับให้สู่อุตสาหกรรม กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นจึงเกิดขึ้น บางช่วงเวลาก็มีการสู้รบบ้างเช่นใน สงครามจีน–ญี่ปุ่นและสงครามรัสเซีย–ญี่ปุ่น และท้ายสุดโดนทำลายล้างเกือบทั้งหมดโดยกองทัพเรือสหรัฐ (USN) ในช่วงใกล้สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง[3]
เชิงอรรถและอ้างอิง
แก้- ↑ "Japan> National Security> Self-Defense Forces> Early Development". Library of Congress Country Studies.
- ↑ Evans & Peattie 1997.
- ↑ Farley, Robert (14 สิงหาคม 2015). "Imperial Japan's Last Floating Battleship". The Diplomat. ISSN 1446-697X. สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2017.
บรรณานุกรม
แก้- Boxer, C.R. (1993) "The Christian Century in Japan 1549-1650", ISBN 1-85754-035-2
- D'Albas, Andrieu (1965). Death of a Navy: Japanese Naval Action in World War II. Devin-Adair Pub. ISBN 0-8159-5302-X.
- Delorme, Pierre, Les Grandes Batailles de l'Histoire, Port-Arthur 1904, Socomer Editions (ในภาษาฝรั่งเศส)
- Dull, Paul S. (1978) A Battle History of The Imperial Japanese Navy ISBN 0-85059-295-X
- Evans, David C; Peattie, Mark R. (1997). Kaigun: strategy, tactics, and technology in the Imperial Japanese Navy, 1887-1941. Annapolis, Maryland: Naval Institute Press. ISBN 0-87021-192-7.
- Gardiner, Robert (editor) (2001) Steam, Steel and Shellfire, The Steam Warship 1815-1905, ISBN 0-7858-1413-2
- Hara, Tameichi (1961). Japanese Destroyer Captain. New York & Toronto: Ballantine Books. ISBN 0-345-27894-1.
- Howe, Christopher (1996) The origins of Japanese Trade Supremacy, Development and technology in Asia from 1540 to the Pacific War, The University of Chicago Press ISBN 0-226-35485-7
- Ireland, Bernard (1996) Jane's Battleships of the 20th Century ISBN 0-00-470997-7
- Lacroix, Eric; Linton Wells (1997). Japanese Cruisers of the Pacific War. Naval Institute Press. ISBN 0-87021-311-3.
- Lyon, D.J. (1976) World War II warships, Excalibur Books ISBN 0-85613-220-9
- Nagazumi, Yōko (永積洋子) Red Seal Ships (朱印船) , ISBN 4-642-06659-4 (ในภาษาญี่ปุ่น)
- Polak, Christian. (2001). Soie et lumières: L'âge d'or des échanges franco-japonais (des origines aux années 1950). Tokyo: Chambre de Commerce et d'Industrie Française du Japon, Hachette Fujin Gahōsha (アシェット婦人画報社).
- Polak, Christian. (2002). 絹と光: 知られざる日仏交流100年の歴史 (江戶時代-1950年代) Kinu to hikariō: shirarezaru Nichi-Futsu kōryū 100-nen no rekishi (Edo jidai-1950-nendai). Tokyo: Ashetto Fujin Gahōsha, 2002. ISBN 4-573-06210-6, 978-4-573-06210-8. OCLC 50875162
- Seki, Eiji. (2006). Mrs. Ferguson's Tea-Set, Japan and the Second World War: The Global Consequences Following Germany's Sinking of the SS Automedon in 1940. London: Global Oriental. ISBN 1-905-24628-5, 978-1-905-24628-1 (cloth) [reprinted by University of Hawaii Press, Honolulu, 2007 -- previously announced as Sinking of the SS Automedon and the Role of the Japanese Navy: A New Interpretation เก็บถาวร 2008-06-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.]
- Tōgō Shrine and Tōgō Association (東郷神社・東郷会), Togo Heihachiro in images, illustrated Meiji Navy (図説東郷平八郎、目で見る明治の海軍), (ในภาษาญี่ปุ่น)
- Japanese submarines 潜水艦大作戦, Jinbutsu publishing (新人物従来社) (ในภาษาญี่ปุ่น)
ดูเพิ่ม
แก้- รายชื่อเรือรบและเรือสงครามของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง
- Boyd, Carl; Akihiko Yoshida (1995). The Japanese Submarine Force and World War II. Annapolis, Maryland: Naval Institute Press. ISBN 1557500150.
- Hashimoto, Mochitsura (2010) [1954]. Sunk: The Story of the Japanese Submarine Fleet, 1941-1945 (reprinted ed.). New York: Henry Holt; reprint: Progressive Press. ISBN 1615775811.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Axis History Factbook — Imperial Japanese Navy (IJN)
- Nobunaga's ironclad navy
- Hiroshi Nishida's IJN siteเก็บถาวร 4 มกราคม 2013 ที่ archive.today
- Imperial Japanese Navy Page
- Etajima Museum of Naval History เก็บถาวร 29 มิถุนายน 2010 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Fading Victory: The Diary of Admiral Matome Ugaki, 1941-1945 เก็บถาวร 26 กุมภาพันธ์ 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - book review
- Imperial Japanese Navy Awards of the Golden Kite in World War 2, a Note
- Imperial Japanese Navy in World War 1, 1914-18 including warship losses เก็บถาวร 16 พฤศจิกายน 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน