จริยธรรมแพทย์

(เปลี่ยนทางจาก จรรยาบรรณแพทย์)

จริยธรรมแพทย์ เป็นสาขาหนึ่งของจริยศาสตร์ประยุกต์ ซึ่งวิเคราะห์เกี่ยวกับการปฏิบัติทางคลินิกและการทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวข้อง คุณค่าในจริยธรรมแพทย์ประกอบด้วยความเคารพในเจตจำนงบุคคล (autonomy), การไม่กระทำอันตราย (non-maleficence), การทำในสิ่งที่เป็นคุณ (beneficence) และ ความยุติธรรม (justice)[1] จริยธรรมแพทย์มีส่วนในการวางแผนดำเนินงานทางการรักษาและบริการสุขภาพของบุคลากรทางการแพทย์ เช่นแพทย์และพยาบาล[2] โดยหลักการสี่ข้อนี้ไม่ได้มีข้อใดที่สูงหรือสำคัญกว่าข้อใด ทั้งหมดล้วนสำคัญและจำเป็นในฐานะหลักกลางของจริยธรรมแพทย์[3] เพราะฉะนั้น ความย้อนแย้งในทางจริยธรรมจึงเกิดขึ้นเมื่อมีความจำเป็นต้องจัดเรียงความสำคัญระหว่างหลักจริยธรรมสี่ข้อ เพื่อประกอบการตัดสินใจให้ได้ผลทางจริยธรรมากที่สุด[4]

แนวปฏิบัติจริยธรรมแพทย์ของเอเอ็มเอ

ในทางการแพทย์สากลมีหลักของจริยธรรมแพทย์ที่ยอมรับอยู่หลายชุด หลักชิ้นสำคัญปรากฏในบทสาบานตนของฮิปโปคราตีส ซึ่งพูดคุยเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของการปฏิบัติวิชาชีพแพทย์[4] คำสาบานตนนี้มีอายุราว 500 ปีก่อนคริสตกาล[5] ส่วนปฏิญญาเฮลซิงกิ (1964) และ ประมวลเนือร์นแบร์ก (1947) เป็นเอกสารว่าด้วยจริยธรรมแพทย์ชิ้นสำคัญสองชิ้น

อ้างอิง แก้

  1. Beauchamp, J. (2013). "Principles of Biomedical Ethics". Principles of Biomedical Ethics. 7.
  2. Weise, Mary (2016). "Medical Ethics Made Easy". Professional Case Management. 21 (2): 88–94. doi:10.1097/ncm.0000000000000151. PMID 26844716. S2CID 20134799.
  3. "Bioethic Tools: Principles of Bioethics". depts.washington.edu. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-10. สืบค้นเมื่อ 2017-03-21.
  4. 4.0 4.1 Berdine, Gilbert (2015-01-10). "The Hippocratic Oath and Principles of Medical Ethics". The Southwest Respiratory and Critical Care Chronicles (ภาษาอังกฤษ). 3 (9): 28–32–32. doi:10.12746/swrccc.v3i9.185. ISSN 2325-9205.
  5. Riddick, Frank (Spring 2003). "The Code of Medical Ethics of the American Medical Association". The Ochsner Journal. 5 (2): 6–10. PMC 3399321. PMID 22826677.

บรรณานุกรม แก้

  • Beauchamp, Tom L., and Childress, James F. 2001. Principles of Biomedical Ethics. New York: Oxford University Press.
  • Bioethics introduction ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เก็บถาวร 2007-07-03)
  • Brody, Baruch A. 1988. Life and Death Decision Making. New York: Oxford University Press.
  • Curran, Charles E. "The Catholic Moral Tradition in Bioethics" in Walter and Klein (below).
  • Epstein, Steven (2009). Inclusion: The Politics of Difference in Medical Research. University of Chicago Press. ISBN 978-0-226-21310-1.
  • Fletcher, Joseph Francis (1954). Morals and Medicine: The Moral Problems of: The Patient's Right to Know the Truth, Contraception, Artificial Insemination, Sterilization, Euthanasia. Boston: Beacon.
  • Hastings Center (1984). The Hastings Center's Bibliography of Ethics, Biomedicine, and Professional Responsibility. OCLC 10727310.
  • Kelly, David (1979). The Emergence of Roman Catholic Medical Ethics in North America. New York: The Edwin Mellen Press. See especially chapter 1, "Historical background to the discipline."
  • Sherwin, Susan (1992). No Longer Patient: Feminist Ethics and Health Care. Philadelphia: Temple University Press. OCLC 23654449.
  • Veatch, Robert M. (1988). A Theory of Medical Ethics. New York: Basic Books. OCLC 7739374.
  • Walter, Jennifer; Eran P. Klein, บ.ก. (2003). The story of bioethics: from seminal works to contemporary explorations. Georgetown University Press. OCLC 51810892.
  • Tauber, Alfred I. (1999). "Confessions of a Medicine Man". Cambridge: MIT Press. OCLC 42328600. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  • Tauber, Alfred I. (2005). "Patient autonomy and the ethics of responsibility". Cambridge: MIT Press. OCLC 59003635. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  • «Législation, éthique et déontologie», Bruxelles: Editions de Boeck Université, 2011, Karine BREHAUX, ISBN 978-2-84371-558-7

แหล่งข้อมูลอื่น แก้