พ.ศ. 1822
ปี
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1279)
พุทธศักราช 1822 ตรงกับคริสต์ศักราช 1279 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 1822 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1279 MCCLXXIX |
Ab urbe condita | 2032 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 728 ԹՎ ՉԻԸ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6029 |
ปฏิทินบาไฮ | −565 – −564 |
ปฏิทินเบงกอล | 686 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2229 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 7 Edw. 1 – 8 Edw. 1 |
พุทธศักราช | 1823 |
ปฏิทินพม่า | 641 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 6787–6788 |
ปฏิทินจีน | 戊寅年 (ขาลธาตุดิน) 3975 หรือ 3915 — ถึง — 己卯年 (เถาะธาตุดิน) 3976 หรือ 3916 |
ปฏิทินคอปติก | 995–996 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 2445 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1271–1272 |
ปฏิทินฮีบรู | 5039–5040 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1335–1336 |
- ศกสมวัต | 1201–1202 |
- กลียุค | 4380–4381 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11279 |
ปฏิทินอิกโบ | 279–280 |
ปฏิทินอิหร่าน | 657–658 |
ปฏิทินอิสลาม | 677–678 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | Kōan 2 (弘安2年) |
ปฏิทินจูเช | N/A |
ปฏิทินจูเลียน | 1279 MCCLXXIX |
ปฏิทินเกาหลี | 3612 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 633 ก่อน ROC 民前633年 |
ผู้นำ
แก้- พระมหากษัตริย์ไทย:
- อาณาจักรสุโขทัย:
- พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ (1792-1822)
- พ่อขุนบานเมือง (1822)
- พ่อขุนรามคำแหงมหาราช (1822-1842)
- อาณาจักรล้านนา
- พญามังราย (1804-1854)
- อาณาจักรสุโขทัย:
- กษัตริย์อังกฤษ: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (1815-1850)
- กษัตริย์ฝรั่งเศส: พระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส (1813-1828)
- ญี่ปุ่น
- จักรพรรดิ - จักรพรรดิโกะอุดะ (1817-1830)
- โชกุน - (คามาคุระ) เจ้าชายโคะเระยะสุ (1809-1832)
- ชิกเก็น - โฮโจ โทะกิมุเนะ (1811-1827)
สำหรับผู้นำประเทศอื่น ๆ ดู รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 1822
เหตุการณ์
แก้- พ่อขุนรามคำแหงมหาราช เสด็จขึ้นครองราชย์ในอาณาจักรสุโขทัย
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
แก้- 12 เมษายน - สุริยุปราคาวงแหวน (ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก อเมริกาเหนือ ทางเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก และยุโรปตะวันตก)
- 21 กันยายน - จันทรุปราคาบางส่วน (มองเห็นได้ในสยาม)
- 7 ตุลาคม - สุริยุปราคาวงแหวน (ทางใต้ของมหาสมุทรแอตแลนติก แอฟริกา และทางใต้ของมหาสมุทรอินเดีย)
- 2 มีนาคม (ค.ศ. 1280) - สุริยุปราคาบางส่วน (ทางใต้ของมหาสมุทรแอตแลนติกและบางส่วนของแอนตาร์กติกา)
- 18 มีนาคม (ค.ศ. 1280) - จันทรุปราคาเต็มดวง (มองเห็นได้ในสยาม เฉพาะช่วงต้นของปรากฏการณ์)