คีโตโคนาโซล (อังกฤษ: ketoconazole) เป็นกลุ่มยาต้านเชื้อราในกลุ่มเอโซล (Azole antifungals) [6]ผลิตจากสารสังเคราะห์อนุพันธ์ของอิมิดาโซลไดออกโซโลน (imidazole dioxolone) ในทางการแพทย์ใช้สำหรับรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อราอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในส่วนต่างๆ ของร่างกาย [7]

คีโตโคนาโซล
(2R,4S)-(+)-ketoconazole (top)
(2S,4R)-(−)-ketoconazole (bottom)
ข้อมูลทางคลินิก
การอ่านออกเสียง/ˌktˈknəˌzl, -zɒl/[1][2]
ชื่อทางการค้าNizoral
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682816
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: B3
  • US: C (ยังไม่ชี้ขาด)
ช่องทางการรับยาOral (tablets), topical (cream, shampoo, solution)
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
  • UK: POM (Prescription only)
  • US: OTC
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผลOral: 37–97%[3]
การจับกับโปรตีน84 to 99%
การเปลี่ยนแปลงยาExtensive liver (predominantly oxidation, O-dealkylation)
สารซึ่งได้หลังการเปลี่ยนแปลงยาN-deacetyl ketoconazole
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพBiphasic
การขับออกBiliary (major) and renal[4]
ตัวบ่งชี้
  • 1-[4-[4-[[2-(2,4-dichlorophenyl)-2-(imidazol-1-ylmethyl)-1,3-dioxolan-4-yl]methoxy]phenyl]piperazin-1-yl]ethanone
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
PDB ligand
ECHA InfoCard100.059.680
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC26H28Cl2N4O4
มวลต่อโมล531.431 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
ไครัลลิตีRacemic mixture[4][5]
  • O=C(N5CCN(c4ccc(OC[C@@H]1O[C@](OC1)(c2ccc(Cl)cc2Cl)Cn3ccnc3)cc4)CC5)C
  • InChI=1S/C26H28Cl2N4O4/c1-19(33)31-10-12-32(13-11-31)21-3-5-22(6-4-21)34-15-23-16-35-26(36-23,17-30-9-8-29-18-30)24-7-2-20(27)14-25(24)28/h2-9,14,18,23H,10-13,15-17H2,1H3/t23-,26-/m0/s1 checkY
  • Key:XMAYWYJOQHXEEK-OZXSUGGESA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

ยาคีโตโคนาโซล สามารถใช้ได้ทั้งการรับประทานโดยรับประทานพร้อมอาหาร และใช้ทาภายนอกบริเวณที่ติดเชื้อ

ผลข้างเคียงไม่พึงประสงค์ แก้

อาการไม่พึงประสงค์ที่พบในกรณีใช้ยาชนิดรับประทานในทางการแพทย์ถือว่าพบน้อย เช่น มีไข้และหนาวสั่น มีผื่นที่ผิวหนังหรือมีอาการคันที่ผิวหนัง ส่วนอาการที่ทางการแพทย์ถือว่าพบได้น้อยมาก เช่น ปัสสาวะสีเข้มกว่าปกติ มีไข้และเจ็บคอ เบื่ออาหาร อุจจาระสีซีดกว่าปกติ มีผื่นแดง (reddening) ตุ่มน้ำใส (blistering) สีของผิวหนังซีดหรือมีการหลุดลอกของผิวหนังและเยื่อบุผิวหนังปวดท้อง เลือดออกผิดปกติหรือมีจ้ำเลือดเกิดขึ้น เหนื่อยล้าหรืออ่อนเพลียมากกว่าปกติ ตัวและตาเหลือง[6]

ส่วนอาการที่เกิดในกรณีใช้ทาภายนอกอาจมีอาการปวดแสบปวดร้อน อาการคัน ซึ่งโอกาสพบมีน้อยมาก แม้มีอาการแต่อาการเหล่านี้อาจจะเป็นอยู่เพียงชั่วคราว [7]

อ้างอิง แก้

  1. "Ketoconazole". Merriam-Webster Dictionary.
  2. "Ketoconazole". Dictionary.com Unabridged. Random House.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Millikan2016
  4. 4.0 4.1 "Assessment report: Ketoconazole HRA" (PDF). www.ema.europa.eu. European Medicines Agency. Committee for Medicinal Products for Human Use. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-27. สืบค้นเมื่อ 26 August 2016.
  5. Arakaki R, Welles B (February 2010). "Ketoconazole enantiomer for the treatment of diabetes mellitus". Expert Opinion on Investigational Drugs. 19 (2): 185–94. doi:10.1517/13543780903381411. PMID 20047506.
  6. 6.0 6.1 "คีโทโคนาโซล". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-09-21. สืบค้นเมื่อ 2012-03-29.
  7. 7.0 7.1 "คีโทโคนาโซล". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-24. สืบค้นเมื่อ 2012-03-29.