คฤหัสถ์ (ศาสนาฮินดู)

คฤหัสถ์ เป็นขั้นตอนที่สองในชีวิตตามระบบอาศรมสี่[1] ต่อจากพรหมจรรย์ ช่วงชีวิตนี้ประกอบด้วยการหาคู่ครอง การสมรส การดูแลครอบครัว ให้การศึกษาแก่บุตรหลาน มีครอบครัวเป็นศูนย์กลางและมีชีวิตในสังคมที่มีธรรมะ[2][3]

ตามอาศรมสี่ จะตามด้วย วานปรัสถ์ คือการเกษียณจากงานและเกษียณจากโลก[4]และสัญญาสี คือการละทิ้ง ตามลำดับ[5]

ในคัมภีร์โบราณและยุคกลางของฮินดูมองว่าขั้นคฤหัสถ์ เป็นระยะที่สำคัญที่สุดในมุมมองของการอยู่รอดในสังคม ระยะนี้เป็นระยะที่นอกจากจะหาความสุขเพื่อตัวเองแล้ว ยังเป็นการช่วยให้เพื่อนมนุษย์ซึ่งอยู่ในระยะอื่น ๆ สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติ โดยเฉพาะให้การจุนเจือแก่บุตรหลานให้มีชีวิตต่อไป[5][6] ระยะนี้ยังถือกันว่าเป็นช่วงชีวิตที่หนักหน่วงที่สุด มีความเครียดและภาระทั้งเชิงกายภาพ, อาชีพ, เพศ, ครอบครัว, สังคม และวัตถุ[7]

อ้างอิง

แก้
  1. S Radhakrishnan (1922), The Hindu Dharma, International Journal of Ethics, 33(1): 1-22
  2. Sahebrao Genu Nigal (1986). Axiological approach to the Vedas. Northern Book Centre. pp. 110–114. ISBN 81-85119-18-X.
  3. Manilal Bose (1998). "5. Grihastha Ashrama, Vanprastha and Sanyasa". Social and cultural history of ancient India. Concept Publishing Company. p. 68. ISBN 81-7022-598-1.
  4. L Mullatti (1995), Families in India: Beliefs and Realities, Journal of Comparative Family Studies, 26(1): 11-25
  5. 5.0 5.1 RK Sharma (1999), Indian Society, Institutions and Change, ISBN 978-8171566655, page 28
  6. Alban Widgery (1930), The Principles of Hindu Ethics, International Journal of Ethics, 40(2): 232-245
  7. Mazumdar and Mazumdar (2005), Home in the Context of Religion, in Home and Identity in Late Life: International Perspectives (Editor: Graham D. Rowles et al.), Springer, ISBN 978-0826127150, pages 81-103