คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติโอเชียเนีย

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติโอเชียเนีย (อังกฤษ: Oceania National Olympic Committees; ONOC) เป็นองค์กรที่ตั้งอยู่ในซูวา ประเทศฟีจี ประกอบด้วยคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติจากทวีปโอเชียเนีย จำนวน 17 ประเทศ จะรวมตัวกับคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติอื่น ๆ ในรูปแบบของสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติโอเชียเนีย
Oceania National Olympic Committees
ก่อตั้งค.ศ. 1981
ประเภทองค์กรระหว่างประเทศ NGO and non-profit organisation
สํานักงานใหญ่ซูวา, ฟีจี
สมาชิก
17 คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ
ภาษาทางการ
อังกฤษ, ฝรั่งเศส
ประธาน
Janez Kocijančič
ประธาน
ฟีจี Robin E. Mitchell
เว็บไซต์OceaniaNOC.org

สมาชิก แก้

ในตารางต่อไปนี้แสดงปีที่คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติได้รับการรับรองจากคณะโอลิมปิกสากล หากแตกต่างจากปีที่ก่อตั้งก็จะแสดงเอาไว้

ชาติ รหัส คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ สร้าง อ้างอิง
  อเมริกันซามัว ASA คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติอเมริกันซามัว 1987 [1]
  ออสเตรเลีย AUS คณะกรรมการโอลิมปิกออสเตรเลีย 1895 [2]
  หมู่เกาะคุก COK คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาแห่งชาติหมู่เกาะคุก 1986 [3]
  ไมโครนีเชีย FSM คณะกรรมการโอลิมปิกสหพันธรัฐไมโครนีเซีย 1995/1997 [4]
  ฟีจี FIJ สมาคมกีฬาและคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติฟีจี 1949/1955 [5]
  กวม GUM คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติกวม 1976/1986 [6]
  คิริบาส KIR คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติคิริบาส 2002/2003 [7]
  หมู่เกาะมาร์แชลล์ MHL คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติหมู่เกาะมาร์แชลล์ 2001/2006 [8]
  นาอูรู NRU คณะกรรมการโอลิมปิกนาอูรู 1991/1994 [9]
  นิวซีแลนด์ NZL คณะกรรมการโอลิมปิกนิวซีแลนด์ 1911/1919 [10]
  ปาเลา PLW คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติปาเลา 1997/1999 [11]
  ปาปัวนิวกินี PNG คณะกรรมการโอลิมปิกปาปัวนิวกินี 1973/1974 [12]
  ซามัว SAM สมาคมกีฬาและคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติซามัว 1983 [13]
  หมู่เกาะโซโลมอน SOL คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติหมู่เกาะโซโลมอน 1983 [14]
  ตองงา TGA สมาคมกีฬาและคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติตองงา 1963/1984 [15]
  ตูวาลู TUV สมาคมกีฬาและคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติตูวาลู 2004/2007 [16]
  วานูวาตู VAN สมาคมกีฬาและคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติวานูอาตู 1987 [17]

สมาชิกสมทบ แก้

มีสมาชิกสมทบ 8 ชาติ [1]

ชาติ คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ
  นิวแคลิโดเนีย Comité Territorial Olympique et Sportif de Nouvelle-Calédonie (CTOS)
  นีวเว Niue Island Sports and Commonwealth Games Association (NISCGA)
  เกาะนอร์ฟอล์ก Norfolk Island Amateur Sports & Commonwealth Games Association
  หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา Northern Marianas Amateur Sports Association
  หมู่เกาะพิตแคร์น Pitcairn Islands Sports
  ตาฮิตี Comité Olympique de Polynésie Française (COPF)
  โตเกเลา Tokelau Sports Federation
  วอลิสและฟูตูนา Comité Territorial Olympique et Sportif des Iles Wallis et Futuna (CTOSWF)

อ้างอิง แก้

  1. "OCA, ONOC sign memorandum for 5th AIMAG Ashgabat 2017". สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-11. สืบค้นเมื่อ 2020-04-28.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)