ขบวนการขาว (รัสเซีย: Бѣлое движеніе/Белое движение, อักษรโรมัน: Beloye dvizheniye, สัทอักษรสากล: [ˈbʲɛləɪ dvʲɪˈʐenʲɪɪ]) และกองกำลังทหารติดอาวุธที่เรียกตัวเองว่า กองทัพขาว (Бѣлая Армія/Белая Армия, Belaya Armiya), ยังเป็นที่รู้จักกันคือ ไวท์การ์ด (Бѣлая Гвардія/Белая Гвардия, Belaya Gvardiya), ทหารการ์ดขาว หรือเรียกอย่างง่ายๆว่า พวกขาว (Бѣлые/Белые, Beliye) เป็นการรวมตัวกันที่หละหลวมของกองกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ที่ต่อสู้รบกับคอมมิวนิสต์บอลเชวิก ยังเป็นที่รู้จักกันคือ พวกแดง ในสงครามกลางเมืองรัสเซีย (ค.ศ. 1917-1922/3) และไปยังขอบเขตที่เล็กน้อย ยังคงดำเนินการอย่างต่อเนื่อง, ในขณะที่กลุ่มผู้ก่อการกำเริบทางทหารจากภายนอกและภายในของชายแดนรัสเซียในไซบีเรีย จนกระทั่งถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ. 1939-1945)

ขบวนการขาว
Бѣлое движенiе
Белое движение
มีส่วนร่วมในสงครามกลางเมืองรัสเซีย (ค.ศ. 1917-1923)
ธงชาติจักรวรรดิรัสเซีย,
ถูกใช้แพร่หลายในขบวนการขาว
ปฏิบัติการในรัสเซีย: 1917–23
ในต่างประเทศ: จนกระทั่งปี ค.ศ. 1960
แนวคิดการต่อต้านบอลเชวิค
การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์
ชาตินิยมรัสเซีย
ราชาธิปไตยนิยม (บางส่วน)
อนุรักษนิยม
เสรีนิยม (บางส่วน)
ผู้นำ รัฐบาลชั่วคราวแห่งรัสเซียทั้งปวง:
อะเลคซันดร์ คอลชัค (1918–20)
กองทัพตะวันตกเฉียงเหนือ:
นีโคไล ยูเดนิช (1919–20)
กองทัพอาสา:
ลาฟร์ คอร์นิลอฟ (1917–18)
กองทัพรัสเซียใต้:
อันตอน เดนีคิน (1918–20)
ปิออตร์ วรานเกล (1920)
ในทรานไบคาล:
กริกอรี่ เซมโยนอฟ (1917–21)
Also:
Mikhail Diterikhs (1922)
Anatoly Pepelyayev (1923)
กำลังพล2,400,000
ถือกำเนิดที่กองทัพจักรวรรดิรัสเซีย
เปลี่ยนเป็นผู้อพยพขาว
พันธมิตรพันธมิตรประเทศนานาชาติ:

สหราชอาณาจักร จักรวรรดิบริติช
 สหรัฐอเมริกา
 ญี่ปุ่น
ไต้หวัน สาธารณรัฐจีน[1]

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3
 เชโกสโลวาเกีย
โปแลนด์
 กรีซ
 อิตาลี
 โรมาเนีย
 เซอร์เบีย


ปรปักษ์1917–23:
โซเวียตรัสเซีย
สาธารณรัฐตะวันออกไกล
โซเวียตลัตเวีย
โซเวียตยูเครน
CWP of Estonia
พรรคประชาชนมองโกเลีย
อาสาสมัครคอมมิวนิสต์จีน

1923:
 สหภาพโซเวียต


Makhnovschyna
กองทัพเขียว
Left SR


Ukraine
Northern Caucasus
การสู้รบและสงคราม1917–23: สงครามกลางเมืองรัสเซีย 1921: Mongolian Revolution of 1921
1924: June Revolution in Albania[2]
1929: Sino-Soviet conflict
1934: Soviet invasion of Xinjiang[3]
1937: Islamic rebellion in Xinjiang[4]

ในช่วงสงครามกลางเมืองรัสเซีย ขบวนการขาวเป็นขบวนการทางการเมืองขนาดใหญ่ เป็นตัวแทนของขบวนการความคิดเห็นทางการเมืองในรัสเซีย ได้พร้อมใจกันในการต่อต้านคอมมิวนิสต์บอลเชวิก จากผู้นิยมระบอบสาธารณรัฐ-ที่โน้มเอียงไปยังชนชั้นกลางเสรีนิยม และผู้นิยมประชาธิปไตยสังคม Kerenskyite ที่ได้รับผลประโยชน์จากการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ เมื่อปี ค.ศ. 1917 บนฝ่ายซ้าย ไปยังตัวแทนของผู้นิยมพระเจ้าซาร์และคริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์ของนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์บนฝั่งขวา

ภายหลังจากความปราชัยของพวกเขา ยังคงหลงเหลือและสืนสานต่อของขบวนการในหลายองค์กร บางส่วนที่มีเพียงการสนับสนุนที่จำกัด ที่ยังคงยั่งยืนอย่างกว้างขวางของผู้อพยพขาว (White émigré) ชุมชนในนอกต่างประเทศ จนกระทั่งการล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในการปฏิวัติยุโรปตะวันออก ปี ค.ศ. 1989 และตามมาด้วยการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1990-1991 กลุ่มชุมชนผลัดถิ่นที่ต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์นี้มักจะถูกแบ่งแยกระหว่างเสรีนิยมและกลุ่มอนุรักษนิยมมากยิ่งขึ้น กับบางส่วนที่ยังคงคาดหวังจากการฟื้นฟูราชวงศ์โรมานอฟ รวมถึงผู้อ้างสิทธิ์หลายคนในราชบังลังก์ที่ว่างเปล่า เช่น นิโคลัส โรมานอฟ, เจ้าชายแห่งรัสเซีย (ค.ศ. 1924-2014) ที่ยังมีพระชนม์ชีพอยู่ในอิตาลีและเจ้าชายอันดรูว์ โรมานอฟ (ประสูติในปี ค.ศ. 1923) ที่อยู่ในสหรัฐอเมริกาและผู้อพยพคนอื่นๆที่ยังคงคาดหวังสำหรับสาธารณรัฐประชาธิปไตยรัฐธรรมนูญที่แท้จริงในรัสเซีย

อ้างอิง แก้

  1. Joana Breidenbach (2005). Pál Nyíri, Joana Breidenbach (บ.ก.). China inside out: contemporary Chinese nationalism and transnationalism (illustrated ed.). Central European University Press. p. 90. ISBN 963-7326-14-6. สืบค้นเมื่อ 18 March 2012. Then there occurred another story which has become traumatic, this one for the Russian nationalist psyche. At the end of the year 1918, after the Russian Revolution, the Chinese merchants in the Russian Far East demanded the Chinese government to send troops for their protection, and Chinese troops were sent to Vladivostok to protect the Chinese community: about 1600 soldiers and 700 support personnel.
  2. "The Tragedy of Albania's Russian Community". Russkiy Mir Foundation. 19 September 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-12. สืบค้นเมื่อ 12 July 2018.
  3. Sven Anders Hedin, Folke Bergman (1944). History of the expedition in Asia, 1927–1935, Part 3. Stockholm: Göteborg, Elanders boktryckeri aktiebolag. pp. 113–115. Retrieved 2010-11-28..
  4. Great Britain. Foreign Office (1997). British documents on foreign affairs—reports and papers from the Foreign Office confidential print: From 1940 through 1945. Asia, Part 3. University Publications of America. p. 401. ISBN 1-55655-674-8. Retrieved 2010-10-28.