กุสตาฟ โฮลส์ (อังกฤษ: Gustav Holst) (21 กันยายน ค.ศ. 187425 พฤษภาคม ค.ศ. 1934) เป็นนักดนตรีชาวอังกฤษ โดยโอสต์โด่งดังจากเพลงตับ เดอะ พลาเนตส์ [1]

ภาพถ่ายของโฮลส์ ถ่ายโดย Herbert Lambert

โอสต์เรียนใน Royal College of Music ในกรุงลอนดอน[2] โดยเขาได้แรงจูงใจจาก Grieg, Wagner[3] Richard Strauss และ Ralph Vaughan Williams[4]

ชื่อเต็มของโฮลส์คือ Gustavus Theodor von Holst แต่เขาได้ตัด "von" จากชื่อของเขาเพื่อตอบสนองการต่อต้านเยอรมันในอังกฤษระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และทำให้เป็นทางการในพินัยกรรมเมื่อปี ค.ศ. 1918[1][2][5]

ประวัติ แก้

ช่วงเริ่มต้น แก้

 
อนุสาวรีย์ของโฮลส์ใน เมืองเชลตันแฮม ประเทศอังกฤษ

โฮลส์เกิดในวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1874 ที่บ้านเลขที่ 4 Pittville Terrace (ชื่อในปัจจุบัน:Clarence Road),[6] เมืองเชลันแฮม กลอสเตอร์เชอร์ ประเทศอังกฤษ[1][5][7] บ้านของเขาได้เปิดเป็นพิพิธภัณฑ์ ในปี ค.ศ. 1974[8]

กุสตาฟวัส วอน โฮลส์ (อังกฤษ: Gustavus von Holst) (เป็นปู่ของโฮลส์เกิดปี 1799)[6] ได้ย้ายจากเมืองไรกา ประเทศลัตเวีย ไปยังประเทศอังกฤษพร้อมกับพ่อแม่ของเขาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก เขากลายมาเป็นครูสอนและนักประพันธ์เพลงสำหรับฮาร์พชื่อดัง[5] อดอล์ฟ วอน โฮลส์ (อังกฤษ: Adolph von Holst) ผู้เป็นพ่อของโฮลส์เป็นนักเล่นหีบเพลงและนักร้องประสานเสียงที่โบสถ์ออล์เซนทส์ใน Pittville[1] พ่อของโฮลส์ได้สอนการเล่นเปียโนให้กับเขาด้วย

Audio biography แก้

ในปี ค.ศ. 2007 สถานีวิทยุ BBC ช่อง 4 ได้เปิด The Bringer of Peace ซึ่งเป็นอัตชีวประวัติของโฮลส์ที่กลัวว่าจะไม่ประสบความสำเร็จจากการแต่งเพลง เดอะ พลาเนตส์ [9]

ผลงาน แก้

ผลงานที่ทำให้โฮลส์โด่งดังคือ เดอะ พลาเนตส์ ซึ่งเป็นเพลงตับ มีทั้งหมด 7 เพลงด้วยกันประกอบไปด้วยดาวเคราะห์ 7 ดวงได้แก่ ดาวพุธ, ดาวศุกร์, ดาวอังคาร, ดาวพฤหัสบดี, ดาวเสาร์, ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ซึ่งมีการเรียงลำดับดังนี้

  1. ดาวอังคาร, ผู้นำมาซึ่งสงคราม (Mars, the Bringer of War)
  2. ดาวศุกร์, ผู้นำมาซึ่งสันติ (Venus, the Bringer of Peace)
  3. ดาวพุธ, เทพสื่อสารติดปีก (Mercury, the Winged Messenger)
  4. ดาวพฤหัสบดี, ผู้นำมาซึ่งความรื่นรมย์ (Jupiter, the Bringer of Jollity)
  5. ดาวเสาร์, ผู้นำมาซึ่งความชรา (Saturn, the Bringer of Old Age)
  6. ดาวยูเรนัส, ผู้วิเศษ (Uranus, the Magician)
  7. ดาวเนปจูน, ฤๅษี (Neptune, the Mystic)

ผลงานที่ถูกเลือก แก้

ผลงานเด่นของกุสตาฟ โฮลส์ ได้แก่:[10]

เชิงอรรถ แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "ConcBritannica-GHolst Britannica Concise, "Gustav Holst", 2006, webpage". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-12-31. สืบค้นเมื่อ 2011-02-12.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 B-GH Encyclopædia Britannica Online, "Gustav Holst", 2006
  3. Short, pp. 23–4
  4. HighBeam Encyclopedia, "Gustav Holst", 2006, Encyclopedia.com webpage: EC-GHolst.
  5. 5.0 5.1 5.2 "Gustavus Theodore Holst" (biography), Classical Net, 2006, webpage: CNet-GHolst.
  6. 6.0 6.1 Short, p.9
  7. "Holst Birthplace Museum website". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-07-01. สืบค้นเมื่อ 2011-02-12.
  8. ในปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์ขนาดเล็ก
  9. BBC – Press Office – Network Radio Programme Information Week 4 Wednesday 23 January 2008
  10. "Gustav Holst (1874–1934) | Compositions" (online), Kenric Taylor, 2006, GustavHolst.info webpage: GHI-opera เก็บถาวร 2010-10-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  11. Op.29 No.2 (Finale is another arrangement of the 4th movement in Second Suite) (1913)

อ้างอิง แก้

หนังสืออ่านเพิ่มเติม แก้

  • Holst, Imogen, Gustav Holst: A Biography, Oxford University Press, 1938.
  • Holst, Imogen, Gustav Holst and Thaxtead (4-page pamphlet)
  • Randel, Michael, The Harvard Biographical Dictionary of Music, Harvard University Press, 1996. Cf. p. 390.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

[[วิกิพีเดีย:|ข้อมูลบุคคล]]
ชื่อ Holst, Gustav}
ชื่ออื่น
รายละเอียดโดยย่อ
วันเกิด 1874
สถานที่เกิด
วันตาย 1934
สถานที่ตาย