กุตุบมีนาร์, กุตับมีนาร์ หรือ กุตบ์มีนาร์ เป็นหออะษานที่ตั้งอยู่ในหมู่โบราณสถานกุตุบ แหล่งมรดกโลกของยูเนสโก ตั้งอยู่ในเขตเมหราวลี ในเดลี ประเทศอินเดีย[3][4] กุตุบมีนาร์มีความสูง 73 เมตร หรือเทียบเท่าอาคารสูง 5 ชั้น โดยมีฐานบนดินเส้นผ่านศูนย์กลาง 14.3 เมตร และ บนยอดสุดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.7 เมตร[5] ประกอบด้วยบันไดวน 379 ขั้น[6][7]

กุตุบมีนาร์
มีนาร์ในเดลี ประเทศอินเดีย
พิกัด28°31′28″N 77°11′07″E / 28.524355°N 77.185248°E / 28.524355; 77.185248
ความสูง72.5 เมตร (238 ฟุต)
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรมอิสลาม
ประเภทวัฒนธรรม
เกณฑ์4
ขึ้นเมื่อ1993 (คณะกรรมการมรดกโลกชุดที่ 17)
เลขอ้างอิง233
ประเทศธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
ทวีปเอเชีย
การก่อสร้างเริ่มใน ค.ศ. 1199 โดยกุตบุดดีน อัยบัก / เสร็จประมาณ ค.ศ. 1220 โดยลูกเขยอิลตุตมิช[1][2]
กุตุบมีนาร์ตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
กุตุบมีนาร์
ตำแหน่งที่ตั้งกุตุบมีนาร์ในประเทศอินเดีย

สถาปัตยกรรม แก้

รูปแบบของหอคอยนั้นลอกแบบมาจากหออะษานแห่งญาม ในประเทศอัฟกานิสถาน ผสมผสานเข้ากับศิลปะท้องถิ่นโดยการเพิ่มระฆังบนพวงมาลัยและขอบทรงดอกบัวเข้าไปในงานแกะสลัก[8] จารึกจำนวนมากในภาษาพาร์โส-อารบิก และอักษรนครีในแต่ละส่วนของหอคอยนั้นแสดงให้เห็นถึงประวัติการก่อสร้างและการบูรณะ[9] หออะษานและหอคอยหลายแห่งสร้างขึ้นโดยได้รับแรงบันดาลใจจากกุตุบมีนาร์ เช่น จันทมีนาร์ และ มินิกุตุบมีนาร์[10]

อ้างอิง แก้

  1. "Qutub Minar". qutubminardelhi.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 June 2015. สืบค้นเมื่อ 15 June 2015.
  2. History And Civics - Page 40. ISBN 9788131763193.
  3. "WHC list". who.unesco.org. 2009. สืบค้นเมื่อ 27 October 2011.
  4. Singh (2010). Longman History & Civics ICSE 7. Pearson Education India. p. 42. ISBN 978-81-317-2887-1. สืบค้นเมื่อ 27 October 2011.
  5. "Qutb Minar Height". qutubminardelhi.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 June 2015. สืบค้นเมื่อ 15 June 2015.
  6. Qutub Minar
  7. "Qutub Minar". qutubminardelhi.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 June 2015. สืบค้นเมื่อ 15 June 2015.
  8. "Index 1200-1299: Qutb ud-Din Aibak and the Qubbat ul-Islam mosque.", Columbia University
  9. Plaque at Qutb Minar
  10. Koch, Ebba (1991). "The Copies of the Quṭb Mīnār". Iran. 29: 95–107. doi:10.2307/4299851. JSTOR 4299851.

บรรณานุกรม แก้

  • Blair, Sheila S.; Bloom, Jonathan M. (1996). The Art and Architecture of Islam 1250-1800. Yale University Press. ISBN 978-0-300-06465-0.
  • Harle, James C. (1994). The Art and Architecture of the Indian Subcontinent. Yale University Press. ISBN 978-0-300-06217-5.
  • Ettinghausen, Richard; Grabar, Oleg; Jenkins, Marilyn (2003). Islamic Art and Architecture 650-1250: 2nd Edition. Yale University Press. ISBN 978-0-300-08869-4.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้