กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิก (อังกฤษ: Basketball) ในโอลิมปิก ค.ศ. 1904 ที่เมืองเซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา บาสเกตบอลชายได้เป็นกีฬาสาธิต ปี ค.ศ. 1908 มีการเปลี่ยนแปลงกฎจากที่ให้ผู้เล่นที่ทำฟาล์ว 5 ครั้ง ถูกตัดสิทธิ์ไม่ให้เล่นในเกมนั้น เป็นการให้อีกฝ่ายได้ชู้ตลูกโทษ 1 หรือ 2 ลูก บวกเพิ่มพิเศษอีก 1 ลูก ในปี 1936 กีฬาบาสเกตบอลชายได้รับการบรรจุให้เป็นกีฬาชิงเหรียญในโอลิมปิกเป็นครั้งแรก ที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี คราวนั้นยังแข่งขันกลางแจ้งบนคอร์ทดินของสนามเทนนิส ทีมชาติสหรัฐฯ ซึ่งตอนนั้นมีชื่อเรียกว่า แมคเฟอร์สันโกล๊บออยเลอร์ส (McPherson Globeoilers) ได้เหรียญทองโอลิมปิกจากการเอาชนะทีมแคนาดาไปด้วยคะแนน 19 : 8 ที่ได้แต้มกันน้อยนั้นก็เป็นผลมาจากฝนตกสนามเฉอะแฉะ ทำให้ยากต่อการเล่น โดยเฉพาะการเลี้ยงบอล ส่วนบาสเกตบอลหญิงโอลิมปิกเกิดขึ้นครั้งแรกในปี 1976 ที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา

กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน
สัญลักษณ์กีฬาบาสเกตบอล
หน่วยงานฟีบา
รายการ2 (ชาย: 1; หญิง: 1)
การแข่งขัน
  • 1896
  • 1900
  • 1904
  • 1908
  • 1912
  • 1920
หมายเหตุ: กีฬาสาธิตปีที่ระบุด้วยตัวเอียง

ทีมบาสเกตบอลสหรัฐฯ เป็นทีมที่น่าเกรงขามที่สุด และครองความเป็นจ้าวมานานกว่า 50 ปี ได้เหรียญทองบาสเกตบอลโอลิมปิก 7 เหรียญแรก เสียให้กับสหภาพโซเวียต 3 ครั้ง ในปี ค.ศ. 1972 ค.ศ. 1980 และ ค.ศ. 1988 แต่ในปี 1980 นั้น ทีมสหรัฐฯไม่ได้ร่วมแข่ง เนื่องจากบอยคอตต์สหภาพโซเวียต แล้วปี 1992 ดรีมทีมของสหรัฐฯก็ได้เหรียญทอง โดยทำคะแนนทิ้งห่างคู่แข่งเฉลี่ยเกมละ 40 คะแนน

หลังจากนั้นทีมสหรัฐฯ ก็อยู่อันดับต้นๆ มาตลอด ส่วนทีมรองๆ ลงไปนั้น มีทีมต่างๆในยุโรป เช่น โครเอเชีย ยูโกสลาเวีย และลิทัวเนีย ที่พัฒนาฝีมือขึ้นมาอย่างรวดเร็ว

London 2012 basketball กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 เริ่มแข่งขันตั้งแต่ วันที่ 28 กรกฎาคม ถึง 12 สิงหาคม 2555มีการชิงชัย 2 ประเภทเหรียญทอง คือ ทีมชาย ทีมหญิง สนามที่ใช้ในการแข่งขัน คือสนาม Basketball Arena และสำหรับนัดชิงชนะเลิศที่สนาม Greenwich Arena

การคัดเลือก แก้

โซน ชาย หญิง
World Championship 1 1
African championship 1 1
Americas championship 2 1
Asia championship 1 1
Europe championship 2 1
Oceania championship 1 1
World qualifying tournament 3 5
เจ้าภาพ 1 1
รวม 12 12

ทีมบาสเกตบอลที่ผ่านเข้ารอบในโอลิมปิกฤดูร้อน แก้

ทีมชาย แก้

ประเทศ 36
 
48
 
52
 
56
 
60
 
64
 
68
 
72
 
76
 
80
 
84
 
88
 
92
 
96
 
00
 
04
 
08
 
12
 
16
 
จำนวนครั้ง
  แองโกลา A 10th 11th 12th 12th 12th 5
  อาร์เจนตินา 15th 4th 9th 1st 3rd 4th Q 7
  ออสเตรเลีย 12th 9th 9th 8th 8th 7th 4th 6th 4th 4th 9th 7th 7th Q 14
  เบลเยียม 19th 11th 17th 3
  บราซิล 9th 3rd 6th 6th 3rd 3rd 4th 7th 5th 9th 5th 5th 6th 5th Q 15
  บัลแกเรีย 7th 5th 16th 10th 4
  แคนาดา 2nd 9th 9th 9th 14th 4th 4th 6th 7th 9
  สาธารณรัฐแอฟริกากลาง A 10th 1
  ชิลี 9th 6th 5th 8th 4
  จีน A A 10th 11th 12th 8th 10th 8th 8th 12th 8
  จีนไทเปB 15th 18th 11th 3
  โครเอเชีย C 2nd 7th 6th 3
ประเทศ 36
 
48
 
52
 
56
 
60
 
64
 
68
 
72
 
76
 
80
 
84
 
88
 
92
 
96
 
00
 
04
 
08
 
12
 
16
 
จำนวนครั้ง
  คิวบา 13th 9th 11th 3rd 7th 6th 6
  เชโกสโลวาเกีย 9th 7th 9th 5th 8th 6th 9th A 7
  อียิปต์ 15th 19th 9th 16th 12th 12th 12th 7
  เอสโตเนีย 9th D 1
  ฟินแลนด์ 9th 11th 2
  ฝรั่งเศส 19th 2nd 8th 4th 10th 11th 2nd 6th 8
  เยอรมนีE 15th 12th 8th 7th 10th 5
  บริเตนใหญ่ 20th 9th 2
  กรีซ 17th 5th 5th 5th 4
  ฮังการี 16th 9th 9th 13th 4
  อินเดีย 12th 1
  อิหร่าน 14th 11th 2
ประเทศ 36
 
48
 
52
 
56
 
60
 
64
 
68
 
72
 
76
 
80
 
84
 
88
 
92
 
96
 
00
 
04
 
08
 
12
 
16
 
จำนวนครั้ง
  อิรัก 22nd 1
  ไอร์แลนด์ 23rd 1
  อิสราเอล A 17th 1
  อิตาลี 7th 17th 17th 4th 5th 8th 4th 5th 2nd 5th 5th 2nd 12
  ญี่ปุ่น 9th 10th 15th 10th 14th 11th 6
  เกาหลีใต้ A 8th 14th 16th 14th 9th 12th 6
  ลัตเวีย 15th D 1
  ลิทัวเนีย D 3rd 3rd 3rd 4th 4th 8th Q 6
  เม็กซิโก 3rd 4th 9th 12th 12th 5th 10th 7
  โมร็อกโก A 16th 1
  นิวซีแลนด์ 11th 10th 2
  ไนจีเรีย 10th Q 2
ประเทศ 36
 
48
 
52
 
56
 
60
 
64
 
68
 
72
 
76
 
80
 
84
 
88
 
92
 
96
 
00
 
04
 
08
 
12
 
16
 
จำนวนครั้ง
  ปานามา 12th 1
  เปรู 8th 10th 15th 3
  ฟิลิปปินส์ 5th 12th 9th 7th 11th 13th 13th 7
  โปแลนด์ 4th 7th 6th 6th 10th 7th 6
  ปวยร์โตรีโก A 13th 4th 9th 6th 9th 7th 8th 10th 6th 9
  โรมาเนีย 17th 1
  รัสเซีย A D F 8th 9th 3rd 3
  เซเนกัล A 15th 15th 11th 3
  สิงคโปร์ A 13th I 1
  สหภาพโซเวียต A 2nd 2nd 2nd 2nd 3rd 1st 3rd 3rd 1st F A 9
  สเปน 14th 7th 11th 4th 2nd 8th 9th 9th 7th 2nd 2nd Q 11
ประเทศ 36
 
48
 
52
 
56
 
60
 
64
 
68
 
72
 
76
 
80
 
84
 
88
 
92
 
96
 
00
 
04
 
08
 
12
 
16
 
จำนวนครั้ง
  สวีเดน 10th 1
  สวิตเซอร์แลนด์ 9th 21st 17th 3
  ไทย A 15th 1
  ตูนิเซีย 11th 1
  ตุรกี 19th 17th 2
  ทีมรวม A 4th A 1
  สหรัฐ 1st 1st 1st 1st 1st 1st 1st 2nd 1st 1st 3rd 1st 1st 1st 3rd 1st 1st Q 18
  อุรุกวัย 6th 5th 3rd 3rd 8th 8th 6th 7
  เวเนซุเอลา 11th Q 2
  ยูโกสลาเวีย 6th 7th 2nd 5th 2nd 1st 3rd 2nd A 8
  เซอร์เบียH G 2nd 6th 11th 3
ประเทศ 21 23 23 15 16 16 16 16 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12

ข้อความ แก้

^A NOC was not member of IOC
^B as   China from 1936–56
^C ส่วนหนึ่งของ   ยูโกสลาเวีย ระหว่าง 1936–1988
^D ส่วนหนึ่งของ   สหภาพโซเวียต ระหว่าง 1952–88
^E as   West Germany from 1968–88
^F part of   ทีมรวม in 1992
^G ตอนนี้คือ   เซอร์เบีย, as   ยูโกสลาเวีย ระหว่าง 1936–1991,   ยูโกสลาเวีย ระหว่าง 1992–2002 และ   เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ระหว่าง 2003–2006
^H ส่วนหนึ่งของ   ยูโกสลาเวีย ระหว่าง 1936–1988
^I ส่วนหนึ่งของ   Malaysia ในปี 1964

ทีมหญิง แก้

Nation 76
 
80
 
84
 
88
 
92
 
96
 
00
 
04
 
08
 
12
 
Years
  แองโกลา 12th 1
  ออสเตรเลีย 5th 4th 6th 3rd 2nd 2nd 2nd 3rd 8
  บราซิล 7th 2nd 3rd 4th 11th 9th 5
  เบลารุส B C 6th 1
  บัลแกเรีย 3rd 2nd 5th 3
  แคนาดา 6th 4th 11th 10th 8th 4
  จีน A 3rd 6th 2nd 9th 9th 4th 6th 7
  โครเอเชีย F 10th 1
  คิวบา 5th 4th 6th 9th 4
  เชโกสโลวาเกีย 4th A 1
  เช็กเกีย D 5th 7th 7th 2
  ฝรั่งเศส 5th 2nd 2
  บริเตนใหญ่ 11th 1
  กรีซ 7th 1
Nation 76
 
80
 
84
 
88
 
92
 
96
 
00
 
04
 
08
 
12
 
Years
  ฮังการี 4th 1
  อิตาลี 6th 8th 8th 3
  ญี่ปุ่น 5th 7th 10th 3
  Korea 2nd 7th 10th 4th 12th 8th 6
  ลัตเวีย B 9th 1
  มาลี 12th 1
  นิวซีแลนด์ 11th 8th 10th 3
  ไนจีเรีย 11th 1
  โปแลนด์ 8th 1
  รัสเซีย B C 5th 6th 3rd 3rd 4th 5
  เซเนกัล 12th 1
  สโลวาเกีย D 7th 4
  สหภาพโซเวียต 1st 1st 3rd C A 3
Nation 76
 
80
 
84
 
88
 
92
 
96
 
00
 
04
 
08
 
12
 
Years
  สเปน 5th 6th 5th 3
  ตุรกี 5th 1
  ยูเครน B C 4th 4
  ทีมรวม A 1st A 1
  สหรัฐ 2nd 1st 1st 3rd 1st 1st 1st 1st 1st 9
  ยูโกสลาเวีย 3rd 6th 2nd A 3
  สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกE 12th 1
Nations 6 6 6 8 8 12 12 12 12 12

ข้อความ แก้

^A NOC was not member of IOC
^B ส่วนหนึ่งของ   สหภาพโซเวียต ระหว่าง 1952–88
^C ส่วนหนึ่งของ   ทีมรวม in 1992
^D ส่วนหนึ่งของ   เชโกสโลวาเกีย ระหว่าง 1920–92
^E as   Zaire from 1984–96
^F ส่วนหนึ่งของ   ยูโกสลาเวีย ระหว่าง 1976–1988

แชมป์กีฬาโอลิมปิก แก้

ทีมชาย แก้

ปี เจ้าภาพ ชิงเหรียญทอง ชิงเหรียญทองแดง
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน ที่ 4
1936
รายละเอียด
 
Berlin
  สหรัฐ 19–8   แคนาดา   เม็กซิโก 26–12   โปแลนด์
1948
รายละเอียด
 
London
  สหรัฐ 65–21   ฝรั่งเศส   บราซิล 52–47   เม็กซิโก
1952
รายละเอียด
 
Helsinki
  สหรัฐ 36–25   สหภาพโซเวียต   อุรุกวัย 68–59   อาร์เจนตินา
1956
รายละเอียด
 
Melbourne
  สหรัฐ 89–55   สหภาพโซเวียต   อุรุกวัย 71–62   ฝรั่งเศส
1960
รายละเอียด
 
Rome
  สหรัฐ No playoffs   สหภาพโซเวียต   บราซิล No playoffs   อิตาลี
1964
รายละเอียด
 
Tokyo
  สหรัฐ 73–59   สหภาพโซเวียต   บราซิล 76–60   ปวยร์โตรีโก
1968
รายละเอียด
 
Mexico City
  สหรัฐ 65–50   ยูโกสลาเวีย   สหภาพโซเวียต 70–53   บราซิล
1972
รายละเอียด
 
Munich
  สหภาพโซเวียต 51–50   สหรัฐ   คิวบา 66–65   อิตาลี
1976
รายละเอียด
 
Montreal
  สหรัฐ 95–74   ยูโกสลาเวีย   สหภาพโซเวียต 100–72   แคนาดา
1980
รายละเอียด
 
Moscow
  ยูโกสลาเวีย 86–77  
Italy
  สหภาพโซเวียต 117–94  
Spain
1984
รายละเอียด
 
Los Angeles
  สหรัฐ 96–65   สเปน   ยูโกสลาเวีย 88–82   แคนาดา
1988
รายละเอียด
 
Seoul
  สหภาพโซเวียต 76–63   ยูโกสลาเวีย   สหรัฐ 78–49   ออสเตรเลีย
1992
รายละเอียด
 
Barcelona
  สหรัฐ 117–85   โครเอเชีย [[Image:{{{flag alias-1989}}}|22x20px|border |ธงชาติลิทัวเนีย]] ลิทัวเนีย 82–78  
Unified Team
1996
รายละเอียด
 
Atlanta
  สหรัฐ 95–69   ยูโกสลาเวีย [[Image:{{{flag alias-1989}}}|22x20px|border |ธงชาติลิทัวเนีย]] ลิทัวเนีย 80–74   ออสเตรเลีย
2000
รายละเอียด
 
Sydney
  สหรัฐ 85–75   ฝรั่งเศส [[Image:{{{flag alias-1989}}}|22x20px|border |ธงชาติลิทัวเนีย]] ลิทัวเนีย 89–71   ออสเตรเลีย
2004
รายละเอียด
 
Athens
  อาร์เจนตินา 84–69   อิตาลี   สหรัฐ 104–96   ลิทัวเนีย
2008
รายละเอียด
 
Beijing
  สหรัฐ 118–107   สเปน   อาร์เจนตินา 87–75   ลิทัวเนีย
2012
รายละเอียด
 
London
  สหรัฐ 107–100   สเปน   รัสเซีย 81–77   อาร์เจนตินา
2016
รายละเอียด
 
Rio de Janeiro

ทีมหญิง แก้

ปี เจ้าภาพ ชิงเหรียญทอง ชิงเหรียญทองแดง
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน ที่ 4
1976
รายละเอียด
 
Montreal
 
สหภาพโซเวียต
No playoffs  
สหรัฐ
 
บัลแกเรีย
No playoffs  
เชโกสโลวาเกีย
1980
รายละเอียด
 
Moscow
 
สหภาพโซเวียต
104–73  
บัลแกเรีย
 
ยูโกสลาเวีย
68–65  
ฮังการี
1984
รายละเอียด
 
Los Angeles
 
สหรัฐ
85–55  
เกาหลีใต้
 
จีน
63–57  
แคนาดา
1988
รายละเอียด
 
Seoul
 
สหรัฐ
77–70  
ยูโกสลาเวีย
 
สหภาพโซเวียต
68–53  
ออสเตรเลีย
1992
รายละเอียด
 
Barcelona
 
Unified Team
76–66  
จีน
 
สหรัฐ
88–74  
คิวบา
1996
รายละเอียด
 
Atlanta
 
สหรัฐ
111–87  
บราซิล
 
ออสเตรเลีย
66–56  
ยูเครน
2000
รายละเอียด
 
Sydney
 
สหรัฐ
76–54  
ออสเตรเลีย
 
บราซิล
84–73  
เกาหลีใต้
2004
รายละเอียด
 
Athens
 
สหรัฐ
74–63  
ออสเตรเลีย
 
รัสเซีย
71–62  
บราซิล
2008
รายละเอียด
 
Beijing
 
สหรัฐ
92–65  
ออสเตรเลีย
 
รัสเซีย
94–81  
จีน
2012
รายละเอียด
 
London
 
สหรัฐ
86–50  
ฝรั่งเศส
 
ออสเตรเลีย
83–74  
รัสเซีย
2016
รายละเอียด
 
Rio de Janeiro

ความสำเร็จในกีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน แก้

ทั้งหมด แก้

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1   สหรัฐ 21 2 3 26
2   สหภาพโซเวียต 4 4 4 12
3   ยูโกสลาเวีย /   ยูโกสลาเวีย 1 5 2 8
4   อาร์เจนตินา 1 0 1 2
5   ทีมรวม (EUN) 1 0 0 1
6   ออสเตรเลีย 0 3 2 5
7   สเปน 0 3 0 3
  ฝรั่งเศส 0 3 0 3
9   อิตาลี 0 2 0 2
10   บราซิล 0 1 4 5
11   บัลแกเรีย 0 1 1 2
  จีน 0 1 1 2
13   โครเอเชีย 0 1 0 1
  เกาหลีใต้ 0 1 0 1
  แคนาดา 0 1 0 1
16   ลิทัวเนีย 0 0 3 3
  รัสเซีย 0 0 3 3
18   อุรุกวัย 0 0 2 2
19   คิวบา 0 0 1 1
  เม็กซิโก 0 0 1 1
Total 28 28 28 84

ชาย แก้

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1   สหรัฐ 14 1 2 17
2   สหภาพโซเวียต 2 4 3 9
3   ยูโกสลาเวีย/  ยูโกสลาเวีย 1 4 1 6
4   อาร์เจนตินา 1 0 1 2
5   สเปน 0 3 0 3
6   ฝรั่งเศส 0 2 0 2
  อิตาลี 0 2 0 2
8   โครเอเชีย 0 1 0 1
  แคนาดา 0 1 0 1
10   บราซิล 0 0 3 3
  ลิทัวเนีย 0 0 3 3
12   อุรุกวัย 0 0 2 2
13   คิวบา 0 0 1 1
  เม็กซิโก 0 0 1 1
  รัสเซีย 0 0 1 1
Total 18 18 18 54

หญิง แก้

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1   สหรัฐ 7 1 1 9
2   สหภาพโซเวียต 2 0 1 3
3   ทีมรวม (EUN) 1 0 0 1
4   ออสเตรเลีย 0 3 2 5
5   บราซิล 0 1 1 2
  บัลแกเรีย 0 1 1 2
  จีน 0 1 1 2
  ยูโกสลาเวีย 0 1 1 2
9   ฝรั่งเศส 0 1 0 1
  เกาหลีใต้ 0 1 0 1
11   รัสเซีย 0 0 2 2
Total 10 10 10 30

อ้างอิง แก้

แหล่งที่มาอื่นๆ แก้