กาแลคซี (นิตยสาร)

กาแลคซี เป็นนิตยสารรวมเรื่องสั้นจัดทำโดย ชุมนุมวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฉบับที่ตีพิมพ์ แก้

 
กาแลคซี 1
กาแลคซี 1 นิยายวิทยาศาสตร์
มีเรื่องในเล่มได้แก่
 
กาแลคซี 2
กาแลคซี 2 อวกาศและเวลา
มีเรื่องในเล่มได้แก่
 
กาแลคซี 3
กาแลคซี 3 หุ่นยนต์และคอมพิวเตอร์
มีเรื่องสั้นในเล่มได้แก่
  • เขาชื่ออดัม ลิงก์ (I, Robot) - Eando Binder
  • ร็อบบี้หุ่นแสนกล (Robby) - Ilya Varshavsky
  • เฮเลน โอลอย (Helen O' Loy) - Lester Del Ray
  • สมดุล (Runaround) - Isaac Asimov
  • เร็กซ์ (Rex) - Harl Vincent
  • คำถามสุดท้าย (The Last Question) - เขียน : ไอแซค อสิมอฟ (Issac Asimov) / แปล : สุชาย ธนวเสถียร [1]
"นำเรื่องของ พระเจ้าสร้างโลกในศาสนาคริสต์ มารวมเข้ากับ ปรัชญาทางวิทยาศาสตร์ ได้อย่างสุดพิสดาร"


ไฟล์:Galaxy-4.jpg
กาแลคซี 4
กาแลคซี 4 มิติและความเร้นลับ
บรรณาธิการโดย อภิชาต ชิตามิตร และ ยรรยง ติยะรัตนกูร ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2515 มีเรื่องในเล่มได้แก่
กาแลคซี 5 คำตอบจากดาวคาเปล่า
มีเรื่องในเล่มได้แก่
กาแลคซี 6 เมฆสีดำ
มีเรื่องในเล่มได้แก่
กาแลคซี 7
บรรณาธิการโดย กวิน ชุติมา และ คณะ ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2518 มีเรื่องในเล่มได้แก่
  • คนเก่ง (Superiority) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย
  • ไอ้โม่งกับมนุษย์ติงต๊อง ("Repent Harlequin!" Said the Ticktockman) - ฮาร์เลน อีลิสัน แปลโดย นพดล วัฒนาคงทอง
  • ผจญภัยบนดาวนิวตรอน (Neutron Star) - ลาร์รี นิเวน แปลโดย นพดล วัฒนาคงทอง และ กวิน ชุติมา
  • ยุคทอง (Second Dawn) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย
  • กู้ภัย (Rescue Party) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย สุพจน์ สุตัณฑวิบูลย์
กาแลคซี 8
ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2526 มีเรื่องในเล่มได้แก่
  • สู่นิรันดร์กาล (Flight to Forever) - พอล แอนเดอร์สัน แปลโดย อธิพันธ์ ณ นคร
  • คืนชีพ (Lazarus Rising) - เกรกกอรี่ เบนฟอร์ด แปลโดย วศิน เพิ่มทรัพย์
  • เจน (Faminine Intuition) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย วัชรกฤษณ์ นพคุณ
  • เพกแมน (Peg-Man) - รูดี รัคเกอร์ (Rudy Rucker) แปลโดย อัทธา เอี่ยมวนานนทชัย
  • ส่งข่าวจากหลุมดำ (Old-Fasioned) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย อนิรุทธิ์ รัชตะวราห์
  • ปฐมภพ (Mother Earth) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย วศิน เพิ่มทรัพย์, อนิรุทธิ์ รัชตะวราห์
กาแลคซี 9
ตีพิมพ์เมื่อ เมษายน พ.ศ. 2527 โดยในบางส่วนของ คำนำหนังสือ ได้กล่าวสรุปไว้ว่า...
"หนังสือเล่มนี้ได้แสดงถึงความสำคัญอีกด้านหนึ่งของนิยายวิทยาศาสตร์ คือ ไม่แต่เพียงทำนายถึงวิทยาการอันก้าวหน้าในอนาคต แต่ยังชี้ให้เห็นถึงผลกระทบของมันที่จะมีต่อสังคมด้วย ไม่ว่าด้านดีหรือเลวร้าย, ในเล่มนี้ ได้รวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับสังคมในอนาคตหลาย ๆ รูปแบบ หลายเรื่องชี้ให้เห็นว่าศัตรูที่แท้จริงของมนุษย์ก็คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเอง ในบางเรื่องก็สะกิดให้เราหยุดคิดก่อนที่จะตัดสินใจก้าวเดินไปข้างหน้า"[2]
มีเรื่องสั้นในเล่มได้แก่
"ในขณะที่มนุษยชาติกำลังเจริญรุดหน้าในด้านวัตถุ ดูเหมือนว่า อีกเผ่าพันธุ์หนึ่งจะค้นพบสิ่งที่มีค่าลึกซึ้งกว่ามากนัก"
"โลกอนาคตใช่ว่าจะเจริญทางวัตถุเสมอไป ปัญหาที่เราหวาดวิตก เช่น การขาดแคลนพลังงาน ก็เกิดขี้นได้"
  • ฤๅเจ้ารู้ มนุษย์นั้นเป็นฉันใด? (...That Thou Art Mindful of Him) - เขียน : ไอแซค อสิมอฟ (Isaac Asimov) / แปล : อัทธา เอี่ยมวนานนทชัย
"ในขณะที่มนุษย์เรามีพฤติกรรมใกล้เคียงหุ่นยนต์เข้าไปทุกที หุ่นยนต์ก็มีลักษณะคล้ายกับมนุษย์เข้าไปทุกทีเช่นกัน จนในที่สุดมันก็เริ่มตระหนักว่า มันเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์กว่ามนุษย์ที่มีเลือดเนื้อ ซึ่งเต็มไปด้วยจุดอ่อนนานัปการ"
  • ขออีกหน่อยน่า (Eat Drink and be Merry) - เขียน : ดีแอน จีราร์ด (Dian Girard) / แปล : ชาญ ชนกโอวาท
"ในสังคมอนาคต คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตเรามากขึ้น จนมันมีส่วนบงการชีวิตเรา แม้แต่ในชีวิตประจำวัน"
"เหตุการณ์อนาคตล้วนเลวร้ายลงทุกที จนมาถึงจุดสุดท้าย... แต่หลังจากผ่านพ้นจุดวิกฤตนั้นไปแล้ว มนุษย์จะหาทางแก้ไขให้มันกลับคืนมาดีได้อย่างไร"
  • วิถีทางคอมฯ (No Browing) - เขียน : L. Michael Matuszewicz / แปล : Phoenix (ฟีนิกซ์)
"หลังจากแสวงหามาแสนนาน คุณก็ได้พบกับความหมายของชีวิต แล้วมันก็พาคุณมาถึงจุดที่ต้องเลือกทำในสิ่งที่คุณเชื่อ แม้มันจะต้องเสี่ยงด้วยชีวิต... แต่คราวนี้ ผู้ที่พบกับปํญหาไม่ใช่มนุษย์ หากแต่เป็น คอมพิวเตอร์เจ้าปัญญา"
  • ก้าวไปข้างหน้า? (The Red Queen's Race) - เขียน : ไอแซค อสิมอฟ (Isaac Asimov) / แปล : ปิยะ กู้พัฒนากุล
"มีคนที่ไม่พอใจกับสภาพสังคมในปัจจุบัน แล้วเขาก็พยายามจะเปลี่ยนแปลงมันจากจุดเริ่มของอดีต"
"ในสังคมอนาคตอุดมคติ มนุษย์พบว่า พันธนาการที่ยิ่งใหญ่ที่สุดก็คือ สิ่งที่พวกเขาบัญญัติมันขึ้นมาเอง"
  • "???" - เขียน : Phoenix (ฟีนิกซ์)
"เรื่องขนาดสั้น Fantasy ของนักเขียนไทย"

อ้างอิง แก้

  1. กระทู้ : มีเรื่องสั้นไซไฟ สมัยที่ยังเป็นกลุ่มห้องสมุดมาฝากกันครับ - Pantip {ความคิดเห็นที่ 2-5}. [1], สืบค้นเมื่อ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ , เวลา 17:20 น.
  2. อนิรุทธิ์ รัชตะวราห์ และคณะ. กาแลคซี่ 9. กรุงเทพฯ : ชุมนุมวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๗