การล้อมออร์เลอ็อง
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
การล้อมออร์เลอ็อง (อังกฤษ: Siege of Orléans) เป็นยุทธการในสงครามร้อยปี ที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1428 ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1429 ที่เมืองออร์เลอ็องในฝรั่งเศส เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชอาณาจักรอังกฤษที่นำโดยจอห์น แทลบอต เอิร์ลแห่งชรูส์บรีที่ 1, ทอมัส มอนทาคิวต์ เอิร์ลแห่งซอลส์บรีที่ 4 และวิลเลียม เดอ ลา โพล ดยุคแห่งซัฟฟอล์กที่ 1 และฝ่ายราชอาณาจักรฝรั่งเศสและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ที่นำโดยฌ็อง เดอ ดูนัว (fr:Jean de Dunois ,en:Jean de Dunois), ฌีล เดอ แร (fr:Gilles de Rais ,en:Gilles de Rais) โจนออฟอาร์ก[4] และฌ็อง เดอ บร็อส (fr:Jean de Brosse , en:Jean de Bross) ผลของการล้อมเมืองครั้งนี้ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด ในด้านความเสียหาย ฝ่ายอังกฤษมีผู้เสียชีวิต 4,000 คน ส่วนฝ่ายฝรั่งเศสมีผู้เสียชีวิตกว่า 2,000 คน
การล้อมออร์เลอ็อง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามร้อยปี | |||||||
ฌาน ดาร์กในการล้อมออร์เลอ็อง ภาพที่วาดใน ค.ศ. 1886–1890 โดยJules Eugène Lenepveu | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
ราชอาณาจักรอังกฤษ รัฐบูร์กอญ[a] |
ราชอาณาจักรฝรั่งเศส ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
เอิร์ลแห่งซอลส์บรี (DOW) เอิร์ลแห่งซัฟฟอล์ก จอห์น แทลบอต วิลเลียม กลาสเดล † |
ฌ็อง เดอ ดูนัว Raoul de Gaucourt Nicolas de Giresme Poton de Xaintrailles ฌีล เดอ แร ฌ็อง เดอ บร็อส ลา อีร์ | ||||||
กำลัง | |||||||
5,300 นาย[1][2] • ชาวอังกฤษประมาณ 3,263–3,800 คน[3] • ชาวบูร์กอญ 1,500 คน[3][a] |
ทหาร 6,400 นาย พลเมืองติดอาวุธ 3,000 นาย[1][2] | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
มากกว่า 4,000 นาย[1] | 2,000 นาย[1] |
ชัยชนะของฝรั่งเศสในการรักษาเมืองออร์เลอ็องเป็นจุดของความเปลี่ยนแปลงของสงครามร้อยปี และเป็นสงครามใหญ่สงครามแรกที่โจนออฟอาร์ก เข้ามามีบทบาท[5] ชัยชนะทางการทหารครั้งนี้เป็นชัยชนะครั้งใหญ่ครั้งแรกของฝ่ายฝรั่งเศสหลังจากที่พ่ายแพ้ต่ออังกฤษอย่างยับเยินในยุทธการที่อาแฌ็งกูร์ (Battle of Agincourt) ในปี ค.ศ. 1415 เมื่อเริ่มการล้อมเมืองอังกฤษอยู่ในสภาพที่แข็งแกร่งที่สุดของการมีอำนาจในฝรั่งเศส นอกจากนั้นออร์เลอ็องก็ยังเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญของทั้งสองฝ่าย จุดประสงค์ของการล้อมเมืองครั้งนี้ถ้าออร์เลอ็องเสียเมืองก็เท่ากับว่าจอห์นแห่งแลงคาสเตอร์ ดยุคแห่งเบดฟอร์ดที่ 1 (John of Lancaster, 1st Duke of Bedford) ผู้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ สามารถทำได้ทำตามพระประสงค์ของพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษในการได้รับชัยชนะต่อฝรั่งเศสทั้งหมด อังกฤษดูเหมือนจะได้รับชัยชนะเมื่อการล้อมเมืองผ่านไปได้ราวหกเดือน แต่ก็มาพ่ายแพ้เพียงเก้าวันหลังจากการเข้าร่วมรบโดย โจนออฟอาร์ก
ดูเพิ่ม
แก้หมายเหตุ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 Charpentier & Cuissard 1896, p. 410.
- ↑ 2.0 2.1 Davis 2003, p. 76.
- ↑ 3.0 3.1 Pollard 2005, p. 14.
- ↑ Her name was written in a variety of ways, particularly prior to the mid-19th century. See Pernoud and Clin, pp. 220–221. She reportedly signed her name as "Jehanne" (see www.stjoan-center.com/Album/, parts 47 and 49; it is also noted in Pernoud and Clin).
- ↑ She earlier (5th of May 1429) marched to the fortress of Saint Jean le Blanc. Finding it deserted, this became a bloodless victory. The next day, with the aid of only one captain she captured the fortress of Saint Augustins (ความเป็นผู้นำของโจนออฟอาร์ก)
ข้อมูลทั่วไป
แก้- Beaucourt, G.F. (1882). Histoire de Charles VII, 2: Le Roi de Bourges 1422–1435 (PDF) (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: Société Bibliographique. Archived.
{{cite book}}
: แหล่งข้อมูลอื่นใน
(help)CS1 maint: postscript (ลิงก์)|postscript=
- Charpentier, Paul & Cuissard, Charles (1896). Journal du siège d'Orléans, 1428–1429. H. Herluison.
- Cousinot de Montreuil, G. (1864). M. Vallet de Viriville (บ.ก.). Chronique de la Pucelle ou chronique de Cousinot. Paris: Delays. link
- Davis, P.K. (2003-06-26). Besieged: 100 great sieges from Jericho to Sarajevo. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-521930-2.
- DeVries, K. (1999). Joan of Arc: a Military Leader (PDF). Stroud: Sutton Publishing. ISBN 978-0-7509-1805-3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-09-27.
- Jones, M.K. (2000). "'Gardez mon corps, sauvez ma terre' – Immunity from War and the Lands of a Captive Knight: The Siege of Orléans (1428–29) Revisited". ใน Mary-Jo Arn (บ.ก.). Charles d'Orléans in England (1415–1440). D.S. Brewer. pp. 9–26. ISBN 978-0-85991-580-9.
- Pernoud, R. & Clin, Marie-Véronique (1998). Joan of Arc: her story. Translated and revised by Jeremy duQuesnay Adams, edited by Bonnie Wheeler. New York: St. Martin's Griffin. ISBN 978-0-312-21442-5.
- Pollard, A.J. (2005-11-19). John Talbot and the War in France 1427–1453. Pen & Sword Military. ISBN 978-1-84415-247-6.
- Quicherat, J. (1841). Procès de condamnation et de réhabilitation de Jeanne d'Arc dite La Pucelle. Vol. 1. Paris: Renouard. link
- Quicherat, J. (1844). Procès de condamnation et de réhabilitation de Jeanne d'Arc dite La Pucelle. Vol. 2. Paris: Renouard. link
- Quicherat, J. (1845). Procès de condamnation et de réhabilitation de Jeanne d'Arc dite La Pucelle. Vol. 3. Paris: Renouard. link
- Ramsay, J.H. (1892). Lancaster and York: A century of English history (A.D. 1399–1485). Vol. 1. Oxford: Clarendon. Archived.
{{cite book}}
: แหล่งข้อมูลอื่นใน
(help)CS1 maint: postscript (ลิงก์)|postscript=
อ่านเพิ่ม
แก้- Cooper, Stephen (2010-09-20). The Real Falstaff: Sir John Fastolf and the Hundred Years' War. Pen & Sword Military. ISBN 978-1-84884-123-9.
- Nicolle, D. (2001-11-25). Orléans 1429: France turns the tide (PDF). Osprey Publishing. ISBN 978-1-84176-232-6. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-09-18. สืบค้นเมื่อ 2022-05-10.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Medieval History Database: Records for Units at the Siege of Orleans
- "Orleans, Siege of". eHistory. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 ธันวาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2012.
- "Siege of Orléans". Encyclopædia Britannica.