การล้อมเดิงแกร์ก (ค.ศ. 1944–1945)

การล้อมที่เดิงแกร์กในสงครามโลกครั้งที่สอง (ยังเป็นที่รู้จักกันคือ ยุทธการที่เดิงแกร์กครั้งที่สอง) เริ่มต้นในเดือนกันยายน ค.ศ. 1944 เมื่อกองกำลังทหารฝ่ายสัมพันธมิตรของกองพลแคนนาดาที่สองได้ทำการโอบล้อมรอบเมืองที่มีป้อมปราการและท่าเรือที่เดิงแกร์ก การปิดล้อมได้ดำเนินไปจนกระทั่งหลังสิ้นสุดสงครามในยุโรปอย่างเป็นทางการ กองกำลังทหารเยอรมันภายในป้อมปราการสามารถต้านทานการโจมตีได้ และเนื่องจากการเปิดท่าเรือที่แอนต์เวิร์ปนั้นมีความสำคัญอย่างมาก จอมพล เบอร์นาร์ด มอนต์โกเมอรี ผู้บัญชาการแห่งกลุ่มกองทัพที่ 21 จึงตัดสินใจทำการโอบล้อมกักขังแต่ไม่ให้เข้ายึดเดิงแกร์กด้วยกองพลน้อยยานเกราะเชโกสโลวักที่ 1 ป้อมปราการซึ่งบัญชาการโดย พลเรือเอก ฟรีดริช ฟรีซิอุส ในท้ายที่สุดก็ได้ยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไขต่อพลจัตวา อาลัวซ์ ลิซกา ผู้บัญชาการแห่งกลุ่มกองพลน้อยเชโกสโลวัก เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 หนึ่งวันหลังจากการยอมจำนนของนาซีเยอรมนีได้มีผลบังคับใช้

การล้อมที่เดิงแกร์ก (ค.ศ. 1944)
ส่วนหนึ่งของ การรุกของฝ่ายสัมพันธมิตรจากปารีสถึงแม่น้ำไรน์ในสงครามโลกครั้งที่สอง

ทหารชาวเชโกสโลวักซึ่งอยู่บนรถถังครอมเวลล์ใกล้กับเดิงแกร์ก ไม่นานภายหลังจากเยอรมันยอมจำนน
วันที่15 กันยายน ค.ศ. 1944 – 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1945
(7 เดือน, 25 วัน)
สถานที่
เดิงแกร์ก, ฝรั่งเศส
51°02′18″N 2°22′39″E / 51.0383°N 2.377500°E / 51.0383; 2.377500
ผล ยังตัดสินไม่ได้
คู่สงคราม
แคนาดา แคนาดา
 สหราชอาณาจักร
เชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
 เยอรมนี
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
แคนาดา Harry Crerar
เชโกสโลวาเกีย Alois Liška
นาซีเยอรมนี Wolfgang von Kluge
นาซีเยอรมนี Friedrich Frisius
กำลัง
14,000+ 14,000
แม่แบบ:Campaignbox Siegfried Line แม่แบบ:Canadian military actions in World War II