การปฏิบัติการพิเศษ
การปฏิบัติการพิเศษ (อังกฤษ: special operation) ตามรายงานของเนโท คือกิจกรรมทางทหารที่ควบคุม "กองกำลังที่ถูกกำหนด จัดระเบียบ คัดเลือก ฝึกฝน และเตรียมกำลังพิเศษโดยใช้เทคนิคและรูปแบบการจ้างงานที่แปลกใหม่"[1][2] การปฏิบัติการพิเศษอาจรวมไปถึงการลาดตระเวน, การสงครามนอกแบบ และการต่อต้านการก่อการร้าย และมักบริหารโดยกลุ่มบุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรมมาอย่างดี เน้นความพอเพียง การลอบเร้น ความเร็ว และการประสานงานทางยุทธวิธีในกลุ่มเล็ก ๆ ซึ่งมีอีกชื่อหนึ่งว่า "หน่วยรบพิเศษ"
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ North Atlantic Treaty Organization (13 December 2013). "Allied Joint Doctrine for Special Operations". NATO Standard Allied Joint Publication. Brussels: NATO Standardization Agency. AJP-3.5 (Edition A, Version 1): 1.
- ↑ North Atlantic Treaty Organization (17 November 2015). "NATO Glossary of Terms and Definitions (English and French)" (PDF). AAP-06 (Edition 2015). Brussels: NATO Standardization Agency: 2–S–8. สืบค้นเมื่อ 18 September 2016.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help)[ลิงก์เสีย]
อ่านเพิ่ม
แก้- Capt. Malcolm Brailey, The Transformation of Special Operations Forces in Contemporary Conflict: Strategy, Missions, Organisation and Tactics เก็บถาวร 2021-10-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Canberra, ACT: Land Warfare Studies Centre, Working Paper No. 127, 2005.
- Colin S. Gray, “Part III: Strategy and Special Operations”, Explorations in Strategy. Westport, CT: Greenwood Press, 1996, pp. 139–232.
- William H. McRaven, Spec Ops: Case Studies of Special Operations Warfare; Theory and Practice. Novato, CA: Presidio, 1995.
- Linda Robinson, One Hundred Victories: Special Ops and the Future of American Warfare, New York: Public Affairs, 2013. ISBN 978-1-61039-149-8 .