ธรรมาภิบาล หรือในกฎหมายใช้ว่า การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานว่า วิธีการปกครองที่ดี (อังกฤษ: good governance) เป็นคำซึ่งความหมายนั้นยังไม่แน่ไม่นอน ปรากฏใช้ในวรรณกรรมทางการพัฒนาระหว่างประเทศเพื่อพรรณนาวิธีการที่สำนักราชการบ้านเมืองจะดำเนินกิจการบ้านเมืองและบริหารทรัพยากรบ้านเมืองไปในทางที่รับประกันว่าสิทธิมนุษยชนจะบังเกิดผลจริงได้เช่นไร[1]

คำว่า "อภิบาล" ใน "ธรรมาภิบาล" นั้น หมายถึง "กระบวนการทำคำวินิจฉัย และกระบวนการเพื่อบังคับใช้ (หรืองดเว้นจากการบังคับใช้) ซึ่งคำวินิจฉัยนั้น"[1] และยังใช้แก่องค์กรใดก็ได้ ไม่ว่า บริษัทห้างร้าน หน่วยงานการปกครองระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ หรือระดับระหว่างประเทศ ตลอดจนถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม[1]

แนวความคิดเรื่อง "ธรรมาภิบาล" นั้นมักปรากฏว่าใช้เป็นแบบแผนเปรียบเทียบหน่วยงานทางการเมืองและเศรษฐกิจที่ก้าวหน้ากับที่ไร้ประสิทธิภาพ[2] แต่ที่ความหมายของคำ "ธรรมาภิบาล" ยังสรุปมิได้นั้น ก็เนื่องจากในโลกร่วมสมัยนี้ รัฐประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม โดยเฉพาะในยุโรปและอเมริกา มีการปกครองที่ "ประสบผลสำเร็จ" เป็นอันมาก สถาบันต่าง ๆ ในรัฐเหล่านี้จึงมักกำหนดมาตรฐานไว้เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของตนกับของสถาบันในรัฐรูปแบบอื่น ๆ ต่าง ๆ กันไป[2] นอกจากนี้ ยังเป็นเพราะว่า คำ "ธรรมาภิบาล" นั้นจะมุ่งหมายถึงบุคคลใดในการปกครองก็ได้ องค์การด้านความช่วยเหลือกับทั้งเจ้าหน้าที่บ้านเมืองในประเทศที่เจริญแล้วจึงมักนิยามคำนั้นต่าง ๆ กันไปแล้วแต่บริบท เพื่อวางข้อกำหนดและข้อเรียกร้องต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับระเบียบวาระและอุดมการณ์ของตน[3][4]

ธรรมาภิบาล พระยาธรรมาภิบาล พระยามหาธรรมาภิบาล เป็นต้น ในพระพุทธศาสนา คือ พระราชหัตถเลขา คลายกับสาวกพระพุทธเจ้าคือพระธรรมร้ฐบาลในสมัยพุทธกาลเป็นพระสาวกใช้ปัญญาแก้ปัญหาทางบ้านเมืองให้พระราชาที่มาปรึกษาหรือพระราชาเมืองอื่นๆที่มาในแว้นแคว้น ทุกๆสิ่งย่อมเกิดขึ้นด้วยธาตุทั้ง4เป็นเหตุเกิดทุกๆอย่างในโลกไม่ว่าวัตถุดิบอาการเก่า,ใหม่ ที่ใช้ผลิตชำแรกการค้ากันระหว่างประเทศ ทุกสิ่งมีข้อเสียและข้อดี ต่างเมืองก็จะปิดข้อเสียของตนเอง และสิ่งแวดล้อมและขยายแต่ข้อดี สิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบแน่นอน เช่นอะไรที่ดีมีปริมาณมากๆก็จะพากันเร่งทำสิ่งนั้นมากกว่าสิ่งอื่น เพราะสิ่งอื่นๆก็ช่วยปรับระบบนิเวชเช่นกันเช่นท่อของเสียทางออกเล็กแต่ปลายทางใหญ่ หรือท่อของเสียทางออกใหญ่แต่ปลายทางเล็กกว่า ก็จะเสียไม่มีลำท่อกลางๆพักบ้างเป็นต้น มองข้ามไม่ได้เลยแม้แต่น้อย อากาศเป็นสุนยากาศ อากาศร้อนมากไม่ถ่ายเทก็ปรับการเร่งรงงานเบานิดหน่อยเช็คระยะ เหมือนเผาถ่านเผาทุกวันก็ไม่ไหวควันลงล่างเต็มบริ้วณไม่หาย ควันหนามันกดอากาศได้ อากาศซ้อนกดอากาศมีแรงดันในควันอันตรายประการนึ่ง นี่เเหละเรียกธรรมาภิบาล หรือ พระยาธัมรัฐบาล หรือขุนพระยาธัมมฝอภิบาล แต่ถ้าปรึกษาพระจะไม่ให้ถามการก้าวกร่านประเทศอื่นนอกจากประเทศตนวิเคราะมาเป็นผลเสียตรงๆแล้วปรึกษา โดยเป็นการอภิปรายต่อพรหมแดนไม่ให้ลุกล้ำเลี่ยมล้ำกันทางปัญญาชนทางปัญญาคอมพิวเตอร์เทคโนโรยีต่างๆ มากกว่าความมีไมตรีระหว่างประเทศ ที่อธิบายในคนที่วๆไปที่กลุ่มไหนจำพวกส่วนไหนที่มทิสฐิลุกล้ำไปนอกประเทศ แล้วเกิดการไม่พอใจขึ้นมาก็ต้องสอบถามหรือสื่อข่าวกระจายเตือนบอก อาจเป็นการเสียหายเรื่องเล็กเอาได้ระหว่างประเทศ ถ้ามีการเมตตาอภัยมากๆให้ต่อกันจะสมานฉันท์มากๆด้วยมิตรที่มากกว่าศรัตตรู เป็นต้น จะว่าไปคล้ายๆปรารภธรรมถกด้วยปัญญา ที่มีความคิดเห็นที่แก้ตรงจุดไหนและผลการได้แก้ และหลังจากแกเไขจุนี้นแล้วเป็นถาวรมีหรือไม่นานเท่าใด ก็ชี้แนะนำให้กันได้ เหมือนวิทยาศาสตร์ยดาวเทียมต่างๆ นั้นแหละ โลกองศาหมุนเปลี่ยน มหาสมุทรคลื่นน้ำทะเลก็ส่งผลคลื่นหนา แต่ทางประเทศหากมีเครื่องมือที่ดีในประเทศเขาแต่เขาไม่มีน้ำใจบอกเตือนต่อน่านน้ำฝั้งตรงข้ามมหาสมุทรเลย เขาก็จะมีแค่ป้องกันประเทศเขา แต่เขาไม่ใช่ว่าผิดหรือถูก ก็เป็นสิทธิ์ของเขา แต่เรามีเครื่องมือที่ดีกว่านั้นขึ้นมาละ แล้วไม่บอกบ้าง ไปบอกประเทศที่อยู่ติดใกล้บอกง่ายดี เขาก็จะเกิดความเข้าใจผิดว่าร่วมมือประเทศนั้นกีดกีนประเทศใหญ่ๆอย่างฉัน อย่างเรา,เขา,ท่าน,แบบนี้ก็เป็นปัณหาแล้วเคยมีเกิดขึ้นแล้วความคิดเช่นนี้ เพราะอะไรเพราะความละแวงต่อกันในมนุษยชาติ นั้นก็ไม่ใช่เหมารวมหใดในแต่ละชาติ บางคนบางจำพวกเท่านั้น สิ่งที่รับมือคือภาวะโลกร้อน เซฟโลกมาหลายสิบปีแล้ว ยังช่วยลดเบาไหมหรือมีแต่เพิ่มขึ้นภาวะร้อนแสดงว่าต้องร่วมมือหลายๆประเทศ โดยเฉพราะเครื่องรีไซเคิล กล่องนมที่ในประเทศที่ไม่มี ควรช่วยจัดสรรหาให้เอื้ออำนวยแก่กันดีกว่า และไม่พอ หากการรีไซเคิลดัดแปลงรีไซเคิ้ลใร้ดินได้ก็ต้องทำทั้งบนบกและใต้ดิน อย่าลืมว่าจุดร้อนแต่ละพื้นที่ไม่เท้ากัน อยู่ใกล้กันก็จริง จึงตั้งรับถี่ แผงโซล่าเซลเก็บแสงกำลังไฟพระอาทิตย์ใต้น้ำ ก็ช่วยได้แต่การรีไชเคิ้ลกล้องนมปริมาณมากหรือไม่เปลี่ยนกล่องนมที่มีฝอยออกเป็นการย้อยสหลายยาก เปลี่ยนเป็นขวดพลาสติกก็ดีช่วยเศษฐกิจคนอนุรักษ์เก็บของเก่าไปด้วยและเพิ่มรายได้ให้พวกเขาอีก ส่งเสริมคนประเภทนี้ให้เสื้อเซฟตี้สะท้อนแสงเป็นเอกลักณ์ประจำประเทศไทยก็มี แต่ยังไม่มาก เพราะในสังคมดท่าเทียมกันคนเก็บขวดเก่าๆอาจจะเปื้อนสกปรกติเป็นธรรมดาถ้าพื้นที่ใกล้เคียงยื่นให้ถุงมือรองเท้าบูตเป็นกำลังใจให้เขาและคนผ่านไปผ่านมาตามเขตุนั้นและ นักท่องเที่ยวยกนิ้วให้เลย สวัสดี

อิสิญาโณ.ภิกขุ

31/07/66

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 What is Good Governance เก็บถาวร 2014-01-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. UNESCAP, 2009. Accessed July 10, 2009.
  2. 2.0 2.1 Khan, Mushtaq Husain (2004). State formation in Palestine: viability and governance during a social transformation: Volume 2 of Political economy of the Middle East and North Africa. Routledge. ISBN 978-0-415-33802-8. found at Google Books เก็บถาวร 2014-01-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Khan16" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  3. Agere, Sam (2000). Promoting good governance. Commonwealth Secretariat. ISBN 978-0-85092-629-3. found at Google Books
  4. Poluha, Eva; Rosendahl, Mona (2002). Contesting 'good' governance:crosscultural perspectives on representation, accountability and public space. Routeledge. ISBN 978-0-7007-1494-0. found at Google books