การทักทาย
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
การทักทาย เป็นอารยธรรมที่งดงามยิ่งของมวลมนุษยชาติ เป็นสิ่งที่ชาวต่างชาติควรเรียนรู้เป็นอันดับแรก เพราะว่าเป็นสิ่งที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาช้านานของชนชาติผู้เป็นเจ้าของ วิธีการทักทายนั้นอาจมีความแตกต่างกันบ้างดังต่อไปนี้
- คำกล่าวทักทายที่เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ
- วิธีปฏิบัติที่ชนชาตินั้นเลือกใช้ เช่น การประนมมือไหว้ การจับมือ การโค้งคำนับ เป็นต้น
ก แก้ไข
ชื่อประเทศ | คำทักทาย | คำอ่าน |
---|---|---|
เกาหลีใต้ | 안녕하십니까 หรือ 안녕하세요 | อันนยองฮาชิมนีกา (เป็นทางการ) หรือ อันนยองฮาเซโย (เป็นกันเอง) |
จ แก้ไข
ชื่อประเทศ | คำทักทาย | คำอ่าน |
---|---|---|
จีน | 你好。 早安。 晚安。 | หนีห่าว (ทักทายทั่วไป) เจ้าอัน (สวัสดีตอนเช้า) ว่านอัน (สวัสดีตอนเย็น) |
ญ แก้ไข
ชื่อประเทศ | คำทักทาย | คำอ่าน |
---|---|---|
ญี่ปุ่น | おはよう ございます。こんにちは。こんばんは。 | โอะฮาโย โกไซมะเซะ (ตอนเช้า) คนนิชิวะ (ตอนเที่ยง,บ่าย) คนบังวะ (ตอนเย็น) |
ท แก้ไข
ชื่อประเทศ | คำทักทาย | คำอ่าน |
---|---|---|
ไทย | สวัสดีครับ (ชาย) หรือ สวัสดีค่ะ (หญิง) | sa-wad-dee-krab หรือ sa-wad-dee-kaa |
ว แก้ไข
ชื่อประเทศ | คำทักทาย | คำอ่าน |
---|---|---|
เวียดนาม | Xin Chao | ซินจ่าว |