กองทัพคันโต
กองทัพคันโต (ญี่ปุ่น: 関東軍; โรมาจิ: かんとうぐん; ทับศัพท์: Kantōgun) หรือ กองทัพกวันตง (จีนตัวย่อ: 关东军; จีนตัวเต็ม: 關東軍; พินอิน: Guāndōngjūn; เวด-ไจลส์: Kwan-dong gun; เกาหลี: 관동군 gwandong-gun; อังกฤษ: Kwantung Army, ความหมาย: "กองทัพประตูตะวันออก") คือกลุ่มกองทัพของกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นับเป็นกองกำลังที่ใหญ่ที่สุดและทรงเกียรติที่สุดของกองทัพจักรวรรดิ นายทหารหลายนายจากหน่วยนี้ เช่น เสนาธิการทหารเซย์ชิโร อิทะงะกิ หรือ พลเอกฮิเดกิ โตโจ ต่างได้ดำรงตำแหน่งระดับสูงทั้งในราชการทหารและรัฐบาลพลเรือนของญี่ปุ่น อนึ่ง กองทัพคันโตยังเป็นหน่วยที่มีส่วนรับผิดชอบอย่างยิ่งในการก่อตั้งจักรวรรดิแมนจูกัว อันเป็นรัฐหุ่นเชิดภายใต้การยึดครองของญี่ปุ่น
กองทัพคันโต | |
---|---|
กองบัญชาการกองทัพคันโต ที่กรุงซิงกิง ประเทศแมนจูกัว | |
ประจำการ | เม.ย. 1906 - ส.ค. 1945 |
ประเทศ | ญี่ปุ่น |
ขึ้นต่อ | กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น |
รูปแบบ | หน่วยทหารราบ |
บทบาท | กลุ่มกองทัพ |
กองบัญชาการ | ซิงกิง, แมนจูกัว (ปัจจุบัน: เมืองฉางชุน ,มณฑลจี๋หลิน ,สาธารณรัฐประชาชนจีน) |
สมญา | โทะคุเฮดัน (ญี่ปุ่น: 德兵團; โรมาจิ: Toku; ทับศัพท์: หน่วยพิเศษ) |
ปฏิบัติการสำคัญ |
รายนามผู้บังคับบัญชา
แก้ผู้บัญชาการกองทัพคันโต
แก้ชื่อ | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | |
---|---|---|---|
1 | พลเอก อิจิโระ ทาจิบาระ | 12 เมษายน 1919 | 6 January 1921 |
2 | พลเอก มิซาโอ คาวาอิ | 6 January 1921 | 10 พฤษภาคม 1922 |
3 | พลเอก ชิโนบุ โอโนะ | 10 พฤษภาคม 1922 | 10 ตุลาคม 1923 |
4 | พลเอก โยชิโนริ ชิราคาวะ | 10 ตุลาคม 1923 | 28 กรกฎาคม 1926 |
5 | จอมพล บารอน โนบุโยชิ มุโตะ | 28 กรกฎาคม 1926 | 26 สิงหาคม 1927 |
6 | พลเอก โชทาโร มุราโอกะ | 26 สิงหาคม 1927 | 1 กรกฎาคม 1929 |
7 | พลเอก เออิทาโร ฮาตะ | 1 กรกฎาคม 1929 | 31 พฤษภาคม 1930 |
8 | พลเอก ทาคาชิ ฮิชิคาริ | 3 มิถุนายน 1930 | 1 สิงหาคม 1931 |
9 | พลเอก ชิเงรุ ฮนโจ | 1 สิงหาคม 1931 | 8 สิงหาคม 1932 |
10 | จอมพล บารอน โนบุโยชิ มุโตะ | 8 สิงหาคม 1932 | 27 กรกฎาคม 1933 |
11 | พลเอก ทาคาชิ ฮิชิคาริ | 29 กรกฎาคม 1933 | 10 ธันวาคม 1934 |
12 | พลเอก จิโระ มินามิ | 10 ธันวาคม 1934 | 6 มีนาคม 1936 |
13 | พลเอก เคนคิจิ อุเอดะ | 6 มีนาคม 1936 | 7 กันยายน 1939 |
14 | พลเอก โยชิจิโระ อุเมซุ | 7 กันยายน 1939 | 18 กรกฎาคม 1944 |
14 | พลเอก โอะโตะโซ ยะมะดะ | 18 กรกฎาคม 1944 | 11 สิงหาคม 1945 |
เสนาธิการกองทัพคันโต
แก้ชื่อ | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | |
---|---|---|---|
1 | พลโท มะตะสุเกะ ฮามาโมะ | 12 เมษายน 1919 | 11 มีนาคม 1921 |
2 | พลโท คายะ ฟุกุฮะระ | 11 มีนาคม 1921 | 6 สิงหาคม 1923 |
3 | พลโท คาวาดะ อาคิจิ | 6 สิงหาคม 1923 | 2 ธันวาคม 1925 |
4 | พลตรี ซึเนะ ไซโต | 2 ธันวาคม 1925 | 10 สิงหาคม 1928 |
5 | พลโท โคจิ มิยาเกะ | 10 สิงหาคม 1928 | 8 สิงหาคม 1932 |
6 | พลเอก คุนิอากิ โคอิโสะ | 8 สิงหาคม 1932 | 5 มีนาคม 1934 |
7 | พลเอก จูโซ นิชิโอ | 5 มีนาคม 1934 | 23 มีนาคม 1936 |
8 | พลเอก เซย์ชิโร อิตางะกิ | 23 มีนาคม 1936 | 1 มีนาคม 1937 |
9 | พลเอก ฮิเดกิ โตโจ | 1 มีนาคม 1937 | 30 พฤษภาคม 1938 |
10 | พลโท เรนสุเกะ อิโซไก | 18 มิถุนายน 1938 | 7 กันยายน 1939 |
11 | พลโท โจ อิอิมุระ | 7 กันยายน 1939 | 22 ตุลาคม 1940 |
12 | พลเอก เฮย์ทาโร คิมุระ | 22 ตุลาคม 1940 | 10 เมษายน 1941 |
13 | พลเอก เทย์อิจิ โยชิโมโตะ | 10 เมษายน 1941 | 1 สิงหาคม 1942 |
14 | พลโท ยูกิโอะ คาซาฮาระ | 1 สิงหาคม 1942 | 7 เมษายน 1945 |
15 | พลโท ฮฺโคซาบุโร ฮาตะ | 7 เมษายน 1945 | 11 สิงหาคม 1945 |
อ้างอิง
แก้หนังสือ
แก้- Coox, Alvin (1990). Nomonhan: Japan Against Russia, 1939. Stanford University Press. ISBN 0804718350.
- Coox, Alvin (1977). The Anatomy of a Small War: The Soviet-Japanese Struggle for Changkufeng/Khasan, 1938. Greenwood Press. ISBN 0837194792.
- Dorn, Frank (1974). The Sino-Japanese War, 1937-41: From Marco Polo Bridge to Pearl Harbor. MacMillan. ISBN 0025322001.
- Glantz, David (2003). The Soviet Strategic Offensive in Manchuria, 1945 (Cass Series on Soviet (Russian) Military Experience, 7). Routledge. ISBN 0714652792.
- Harries, Meirion (1994). Soldiers of the Sun: The Rise and Fall of the Imperial Japanese Army. Random House; Reprint edition. ISBN 0679753036.
- Yamamuro, Shinichi (2005). Manchuria Under Japanese Domination. University of Pennsylvania Press. ISBN 0812239121.
- Young, Louise (1999). Japan's Total Empire: Manchuria and the Culture of Wartime Imperialism. University of California Press. ISBN 0520219341.
- Jowett, Bernard (1999). The Japanese Army 1931-45 (Volume 2, 1942-45). Osprey Publishing. ISBN 1841763543.
- Madej, Victor (1981). Japanese Armed Forces Order of Battle, 1937-1945. Game Publishing Company. ASIN: B000L4CYWW.
- Marston, Daniel (2005). The Pacific War Companion: From Pearl Harbor to Hiroshima. Osprey Publishing. ISBN 1841768820.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Wendel, Marcus. "Axis History Factbook". Kwantung Army.