กระเช้าสีดา (ละครโทรทัศน์)
กระเช้าสีดา เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวดราม่า เคยสร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้วเมื่อปี 2537 ออกอากาศทางช่อง 3 นำแสดงโดย ยุรนันท์ ภมรมนตรี , มยุรา เศวตศิลา, บุษกร วงศ์พัวพันธ์ , กรรชัย กำเนิดพลอย ครั้งที่สองนำกลับมาสร้างใหม่ในปี 2564 ผลิตโดย เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ - เช้นจ์ 2561 บทประพันธ์โดย กฤษณา อโศกสิน บทโทรทัศน์โดย ศรุฑ สามงามแจ่ม นำแสดงโดย จิรายุ ตันตระกูล[1] , วรนุช ภิรมย์ภักดี[2] , อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล , ปีเตอร์ คอร์ป ไดเรนดัล , วิทยา วสุไกรไพศาล , นพพล โกมารชุน , กาญจนาพร ปลอดภัย , คลาวเดีย จักรพันธุ์ , ชวัลกร วรรธนพิสิฐกุล , ณัฎฐ์ ทิวไผ่งาม , เพ็ญพักตร์ ศิริกุล , ชนานา นุตาคม , คงกะพัน แสงสุริยะ กำกับการแสดงโดย คฑาเทพ ไทยวานิช ออกอากาศทุกวันพุธ - วันพฤหัสบดี เวลา 20.30 - 22.30 น. เริ่มออกอากาศตอนแรก 29 กันยายน พ.ศ. 2564 - 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ออกอากาศทาง ช่องวัน 31 และรับชมย้อนหลังทางแอปพลิเคชัน "อ้ายฉีอี้" (iQiYi) เป็นที่แรก
กระเช้าสีดา | |
---|---|
สร้างโดย | เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ เช้นจ์ 2561 |
เขียนโดย | บทประพันธ์ : กฤษณา อโศกสิน บทโทรทัศน์ : ศรุฑ สามงามแจ่ม |
กำกับโดย | คฑาเทพ ไทยวานิช |
แสดงนำ | |
ดนตรีแก่นเรื่องเปิด | ปม - นิภาภรณ์ ฐิติธนการ |
ดนตรีแก่นเรื่องปิด | ปม - นิภาภรณ์ ฐิติธนการ พิง - ธนนท์ จำเริญ |
ประเทศแหล่งกำเนิด | ไทย |
ภาษาต้นฉบับ | ไทย |
จำนวนตอน | 16 ตอน |
การผลิต | |
ผู้อำนวยการสร้าง | ถกลเกียรติ วีรวรรณ นิพนธ์ ผิวเณร สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา วรฤทธิ์ ไวยเจียรนัย |
ความยาวตอน | 130 นาที |
ออกอากาศ | |
เครือข่าย | ช่องวัน |
ออกอากาศ | 29 กันยายน พ.ศ. 2564 – 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 |
นักแสดง แก้
ปี พ.ศ. | 2537 | 2564 |
---|---|---|
สถานีออกอากาศ | ช่อง 3 | ช่องวัน 31 |
บริษัทผู้สร้าง | บริษัท นิวเบรน จำกัด | เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ เช้นจ์ 2561 |
บทประพันธ์ | กฤษณา อโศกสิน | |
บทโทรทัศน์ | เอื้องอรุณ สมิตสุวรรณ | ศรุฑ สามงามแจ่ม |
ผู้กำกับการแสดง | สุประวัติ ปัทมสูต | คฑาเทพ ไทยวานิช |
ตัวละคร | นักแสดงหลัก | |
น้ำพิงค์ อัคระ (พิงค์) | มยุรา เศวตศิลา | วรนุช ภิรมย์ภักดี |
รำนำ | บุษกร วงศ์พัวพันธ์ | อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล |
ลือ หัตถ์พิเนศ | ยุรนันท์ ภมรมนตรี | ปีเตอร์ คอร์ป ไดเรนดัล |
อำพน ไพศาลยศ (พน) | กรรชัย กำเนิดพลอย | จิรายุ ตันตระกูล |
ตัวละคร | นักแสดงสมทบ | |
พาที | ภาณุเดช วัฒนสุชาติ | วิทยา วสุไกรไพศาล |
ท่านจรินทร์ ไพศาลยศ | สมบัติ เมทะนี | นพพล โกมารชุน |
นุ่ม | พงษ์ลดา พิมลพรรณ | กาญจนาพร ปลอดภัย |
รตี ไพศาลยศ (ตี) | ปรารถนา สัชฌุกร | คลาวเดีย จักรพันธุ์ |
ศศี | ลีลาวดี วัชโรบล | ชวัลกร วรรธนพิสิฐกุล |
เวไนย | สิรคุปต์ เมทะนี | ณัฏฐ์ ทิวไผ่งาม |
ตัวละคร | นักแสดงรับเชิญ | |
น้ำผึ้ง อัคระ | พิศมัย วิไลศักดิ์ | เพ็ญพักตร์ ศิริกุล |
ท่านไตร | - | คงกะพัน แสงสุริยะ |
วดี (แม่ของเวไนย) | อัจฉราวดี เถาเสถียร | ชนานา นุตาคม |
เก่ง | กิตติพล เกศมณี | ภัทรบุตร เขียนนุกูล |
เรตติ้ง แก้
ตอนที่ | ออกอากาศ | เรตติ้งทั่วประเทศ |
---|---|---|
1 | 29 กันยายน 2564 | 2.6 |
2 | 30 กันยายน 2564 | 2.2 |
3 | 6 ตุลาคม 2564 | 2.0 |
4 | 7 ตุลาคม 2564 | 2.4 |
5 | 13 ตุลาคม 2564 | 2.4 |
6 | 14 ตุลาคม 2564 | 3.1 |
7 | 20 ตุลาคม 2564 | 3.7 |
8 | 21 ตุลาคม 2564 | 3.6 |
9 | 27 ตุลาคม 2564 | 4.5 |
10 | 28 ตุลาคม 2564 | 4.9 |
11 | 3 พฤศจิกายน 2564 | 4.6 |
12 | 4 พฤศจิกายน 2564 | 4.9 |
13 | 10 พฤศจิกายน 2564 | 5.3 |
14 | 11 พฤศจิกายน 2564 | 5.2 |
15 | 17 พฤศจิกายน 2564 | 6.5 |
16 (ตอนจบ) | 18 พฤศจิกายน 2564 | 6.5 |
รางวัล แก้
ปี | รางวัล | สาขา | เสนอชื่อเข้าชิง | ผล |
---|---|---|---|---|
2565 | Thailand Zocial Awards 2022[3] | Best Entertainment Performance on Social Media by Pantip สาขาละคร | กระเช้าสีดา | ชนะ |
Best Entertainment on Social Media สาขาละครไทย | ชนะ | |||
Best Entertainment on Social Media สาขาเพลงแห่งปี | พิง (ขับร้องโดย นนท์ ธนนท์) |
เสนอชื่อเข้าชิง | ||
TOTY Music Awards 2021[4] | เพลงประกอบยอดนิยม | ชนะ |
อ้างอิง แก้
- ↑ "ก๊อต" แฮปปี้บทอำพน ใน "กระเช้าสีดา" ปลื้มถูกจับเป็นคู่จิ้น "นุ่น วรนุช"
- ↑ "กระเช้าสีดา" คว้า ก๊อต-นุ่น-กรีน-ปีเตอร์ โชว์ดราม่าสะเทือนวงการละคร". ไทยรัฐ. 21 กรกฎาคม 2563. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2563.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "THAILAND ZOCIAL AWARDS ครั้งที่ 10 งานประกาศรางวัลโซเชียลที่ยิ่งใหญ่ที่สุด". สปริงนิวส์. 2022-02-22. สืบค้นเมื่อ 2022-02-22.
- ↑ สุพัฒน์ ศิวะพรพันธ์ (March 1, 2022). "สรุปผลรางวัล TOTY Music Awards 2021 Tilly Birds คว้า 4 รางวัลใหญ่ 4EVE คว้ารางวัล Best Music of the Year และ Best Female Group". The Standard. สืบค้นเมื่อ March 1, 2022.