ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2565–66 – โซนกรุงเทพและปริมณฑล

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2565–66 โซนกรุงเทพและปริมณฑล เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยลีก 3 ฤดูกาล 2565–66 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 3 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 6 ของไทยลีก 3 นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกเมื่อ พ.ศ. 2560

ไทยลีก 3 โซนกรุงเทพและปริมณฑล
ฤดูกาล2565–66
วันที่10 กันยายน 2565 – 19 มีนาคม 2566[1]
ทีมชนะเลิศม.นอร์ทกรุงเทพ
ตกชั้นสยาม
รอบระดับประเทศม.นอร์ทกรุงเทพ
บางกอก
จำนวนนัด182
จำนวนประตู455 (2.5 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบีรัม ดียุฟ
(18 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
4 ประตู
สมุทรสาคร ซิตี้ 5–1 สยาม
(17 กันยายน 2565)
โบลาเวน สมุทรปราการ 5–1 ทหารบก
(5 มีนาคม 2566)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
3 ประตู
ทหารอากาศ 1–4 ม.นอร์ทกรุงเทพ
(17 กันยายน 2565)
โบลาเวน สมุทรปราการ 1–4 บางกอก
(25 กันยายน 2565)
เอสทีเค เมืองนนท์ 0–3 โบลาเวน สมุทรปราการ
(16 ตุลาคม 2565)
ทหารอากาศ 0–3 ธนบุรี ยูไนเต็ด
(22 ตุลาคม 2565)
จามจุรี ยูไนเต็ด 0–3 นนทบุรีฯ ส.บุญมีฤทธิ์
(23 ตุลาคม 2565)
เอสทีเค เมืองนนท์ 1–4 ม.นอร์ทกรุงเทพ
(29 ตุลาคม 2565)
อินเตอร์ แบงค็อก 0–3 นนทบุรีฯ ส.บุญมีฤทธิ์
(9 พฤศจิกายน 2565)
ทหารอากาศ 1–4 นนทบุรีฯ ส.บุญมีฤทธิ์
(22 มกราคม 2566)
สยาม 1–4 ม.นอร์ทกรุงเทพ
(22 มกราคม 2566)
พราม แบงค็อก 0–3 โบลาเวน สมุทรปราการ
(11 กุมภาพันธ์ 2566)
โบลาเวน สมุทรปราการ 1–4 นนทบุรีฯ ส.บุญมีฤทธิ์
(15 กุมภาพันธ์ 2566)
จำนวนประตูสูงสุด9 ประตู
ทหารบก 4–5 สมุทรสาคร ซิตี้
(30 ตุลาคม 2565)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
7 นัด
สมุทรสาคร ซิตี้
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
13 นัด
พราม แบงค็อก
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
17 นัด
ทหารอากาศ
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
6 นัด
สยาม
จำนวนผู้ชมสูงสุด560 คน
ธนบุรี ยูไนเต็ด 1–3 สมุทรสาคร ซิตี้
(11 กันยายน 2565)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
ม.เกษมบัณฑิต 0–1 จามจุรี ยูไนเต็ด
(10 กันยายน 2565)
อินเตอร์ แบงค็อก 0–1 ทหารบก
(17 กันยายน 2565)
ม.เกษมบัณฑิต 3–2 โบลาเวน สมุทรปราการ
(8 มกราคม 2566)
พราม แบงค็อก 2–3 สมุทรสาคร ซิตี้
(21 มกราคม 2566)
สยาม 1–4 ม.นอร์ทกรุงเทพ
(22 มกราคม 2566)
ทหารบก 1–0 ม.เกษมบัณฑิต
(11 กุมภาพันธ์ 2566)
สยาม 0–0 พราม แบงค็อก
(15 กุมภาพันธ์ 2566)
ม.เกษมบัณฑิต 1–0 สยาม
(26 กุมภาพันธ์ 2566)
จำนวนผู้ชมรวม35,436 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย204 คน
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 19 มีนาคม 2566

สโมสร แก้

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2565–66 โซนกรุงเทพและปริมณฑล มีจำนวน 14 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากฤดูกาล 2564–65 จำนวน 13 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก จำนวน 1 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว แก้

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2564–65
จามจุรี ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร
(ปทุมวัน)
สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 20,000 4
ทหารบก นครนายก สนามกีฬาโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า 9
ทหารอากาศ ปทุมธานี
(ลำลูกกา)
สนามกีฬาธูปะเตมีย์ 25,000 10
ธนบุรี ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร
(หนองแขม)
ธนบุรีสเตเดียม 3,500 11
นนทบุรี ยูไนเต็ด ส.บุญมีฤทธิ์ นนทบุรี
(เมืองนนทบุรี)
นนทบุรีสเตเดียม 12,000 3
บางกอก กรุงเทพมหานคร
(ทุ่งครุ)
สนามเฉลิมพระเกียรติ บางมด 8,000 2
โบลาเวน สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการสเตเดียม 6,800 13
พราม แบงค็อก กรุงเทพมหานคร
(บางกะปิ)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยรามคำแหง 7
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต กรุงเทพมหานคร
(มีนบุรี)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ร่มเกล้า 1,000 5
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ปทุมธานี
(ธัญบุรี)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต 1,550 1
สยาม กรุงเทพมหานคร
(มีนบุรี)
สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา 10,000 6
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 12
สมุทรสาคร ซิตี้ กรุงเทพมหานคร
(ทวีวัฒนา)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 1,000 1 (ทีเอ)
เอสทีเค เมืองนนท์ นนทบุรี
(เมืองนนทบุรี)
สนามกีฬาศูนย์เยาวชนเฉลิมพระเกียรติ เทศบาลนครนนทบุรี 6,000 8

ข้อมูลสโมสร แก้

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
จามจุรี ยูไนเต็ด   อดุลย์ ลือกิจนา   สมปอง สอเหลบ เอฟบีที
ทหารบก   ชัยวัฒน์ นาคเอี่ยม   ดาวุฒิ ดินเขต กีลา
ทหารอากาศ   มนตรี แพรพันธ์   ศิริวัฒน์ โชติเวชารักษ์ กีลา
ธนบุรี ยูไนเต็ด   ปรมินทร์ ไชยเฉลิม   จัตุรงค์ หลงศรีภูมิ อีโก้สปอร์ต
นนทบุรี ยูไนเต็ด ส.บุญมีฤทธิ์   อาบดูล กูลีบาลี   วรพจน์ สมสร้าง เอฟบีที
บางกอก   กฤษกร กระสายเงิน   บรรจง ผดุงพัฒโนดม เอฟบีที
โบลาเวน สมุทรปราการ   แดนนี อินวินซิบิเล   จิรายุ เนียมไธสง โวลต์
พราม แบงค็อก   ธิดารัตน์ วิวาสุขุ   วรภพ พงษ์สุวรรณ เน็กซ์
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต   กฤษณ์ สิงห์ปรีชา   ไชยสาร หอมบุญ แกรนด์สปอร์ต
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ   ดำรงศักดิ์ บุญม่วง   วีรยุทธ จิตรขุนทด เดฟโฟ
สยาม   มาตู กอนเด   วรินทร์ นฤหล้า วายจีสปอร์ต
สมุทรสาคร ซิตี้   ยศกร ศิลาเกษ   บีรัม ดียุฟ โอเซล
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก   ชัยธัช อ่วมธรรม   ปรวัตร สิริวัฒนากร ว้าว
เอสทีเค เมืองนนท์   อิทธิพล นนท์ศิริ   จีระ เจริญสุข ทีดับเบิลยูสปอร์ต

ผู้เล่นต่างชาติ แก้

สำหรับการขึ้นทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ กำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไปไม่เกิน 3 คน

Note :
 : ผู้เล่นที่ปล่อยตัวระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
 : ผู้เล่นที่ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
↔: ผู้เล่นที่มีสองสัญชาติ
→: ผู้เล่นที่ออกจากสโมสรหลังจากลงทะเบียนในเลกแรกหรือเลกที่สอง
ผู้เล่นต่างชาติทั่วไป
ผู้เล่นต่างชาติ (เอเชีย)
ผู้เล่นต่างชาติ (อาเซียน)
ไม่มีการลงทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ
สโมสร เลก ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3
จามจุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1   อีแซก แอมเบนกาน   ลียอแนล ฟร็องก์ ตูโก แอนโซลา   โมฮาเหม็ด กูอาดียอ
เลกที่ 2
ทหารบก เลกที่ 1
เลกที่ 2
ทหารอากาศ เลกที่ 1   บานโก ออลีวีเย   เอ็มมานูเอล ควาเม อะคาดอม
เลกที่ 2   วีนีซียุส ซิลวา ไฟรตัช  
ธนบุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1   รามิโร ริซาโซ   Mammad Guliyev   มูซา อาบาการ์  
เลกที่ 2   ญะอัด อัฟริ  
นนทบุรี ยูไนเต็ด ส.บุญมีฤทธิ์ เลกที่ 1   ดูดู ลีมา     แอนดียอนแก อามาดู อาดามา     ตาล มูอามาดู ฟาลลู แอมบักเก  
เลกที่ 2   อับแนร์ โกมีส ฟาเรีย     โกเน อีซมาแอล  
บางกอก เลกที่ 1   Dauda Y. Bortu     บรูนู ซูซูกิ     โกชิ โอกูโบะ
เลกที่ 2   ไคกี รีเบย์รู     เซยะ โคจิมะ  
โบลาเวน สมุทรปราการ เลกที่ 1   โอ จุน-ซ็อก   ชิม กวัง-อุก
เลกที่ 2   คาซูโอะ ฮมมะ  
พราม แบงค็อก เลกที่ 1   มุฮัมมัด อิมัม อะลี มุฮัมมัด   อัชร็อฟ ตันตะอุย   ทิสฮาน ฮานลีย์
เลกที่ 2
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เลกที่ 1   บะซัม รัดวัน มะห์มูด มุฮัมมัด อะฟิฟย์     อี กี-พิน     มา เย-ซ็อง  
เลกที่ 2   ทอมัส ชินอนโซ  
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ เลกที่ 1   แซลียู กิลแยร์มี ดา ซิลวา ซังตุส     กูลีบาลี โชมานา   อ็องรี โฌแอล
เลกที่ 2   เลสเตร์ บลังโก  
สยาม เลกที่ 1   ซาร์โฟ โอทิส อัดเจ   เซก อาลิว     นาโอโตะ ฮิไรชิ  
เลกที่ 2   เบอร์นาร์ด โอวูซู มินตาห์     มา เย-ซ็อง  
สมุทรสาคร ซิตี้ เลกที่ 1   เปดรู จีอัส     บีรัม ดียุฟ   ดิเอโก ซิลบา  
เลกที่ 2   ไอล์ตง มาชาดู     อังเดรย์ โกชิญญู  
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก เลกที่ 1
เลกที่ 2
เอสทีเค เมืองนนท์ เลกที่ 1   กิลแยร์มี มูไรรา     จอร์จ เคฮินเด   นาโอยา โทกาอิ  
เลกที่ 2   อ็องโนร แฟร์ดีน็อง     ซาดิ มัวเซอ เฌเนอแน็ฌเบอ 

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์ แก้

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม แก้

สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
โบลาเวน สมุทรปราการ   กรณ์ภพ ทรัพย์สิน แยกทาง กุมภาพันธ์ 2565 ก่อนเริ่มฤดูกาล   แดนนี อินวินซิบิเล 3 สิงหาคม 2565[2]
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก   สันติ ทรงเต๊ะ   ชัยธัช อ่วมธรรม กรกฎาคม 2565[3]
สมุทรสาคร ซิตี้   สุพจน์ งดงาม ปรับโครงสร้าง มิถุนายน 2565   ศรายุทธ ชัยคำดี 26 มิถุนายน 2565[4]
เอสทีเค เมืองนนท์   เอกลักษณ์ ทองอ่ำ แยกทาง   สุรชัย จิระศิริโชติ 8 กรกฎาคม 2565[5]
บางกอก   เซบัสทีอัน น็อยมัน 12 กรกฎาคม 2565   กฤษกร กระสายเงิน 22 กรกฎาคม 2565[6]
นนทบุรี ยูไนเต็ด ส.บุญมีฤทธิ์   อาบดูล กูลีบาลี ปรับโครงสร้าง สิงหาคม 2565   พยงค์ ขุนเณร 9 สิงหาคม 2565[7]
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต   อภิรักษ์ ศรีอรุณ แยกทาง 3 ตุลาคม 2565 อันดับที่ 8   กฤษณ์ สิงห์ปรีชา 4 ตุลาคม 2565[8]
เอสทีเค เมืองนนท์   สุรชัย จิระศิริโชติ 2 พฤศจิกายน 2565 อันดับที่ 13   จักรี หนองน้อย 3 พฤศจิกายน 2565[9]
สมุทรสาคร ซิตี้   ศรายุทธ ชัยคำดี 1 ธันวาคม 2565[10] อันดับที่ 3   ยศกร ศิลาเกษ 21 ธันวาคม 2565
นนทบุรี ยูไนเต็ด ส.บุญมีฤทธิ์   พยงค์ ขุนเณร 7 ธันวาคม 2565 อันดับที่ 7   อาบดูล กูลีบาลี 14 ธันวาคม 2565[11]
เอสทีเค เมืองนนท์   จักรี หนองน้อย ลาออก 15 มกราคม 2566 อันดับที่ 12   อิทธิพล นนท์ศิริ 15 มกราคม 2566[12]
ทหารอากาศ   ณรงค์ ปาระชาติ แยกทาง กุมภาพันธ์ 2566 อันดับที่ 14   มนตรี แพรพันธ์ กุมภาพันธ์ 2566

ตารางคะแนน แก้

อันดับ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (C, Q) 26 15 8 3 39 16 +23 53[a] เข้าแข่งขันในรอบระดับประเทศ
2 บางกอก (Q) 26 15 8 3 48 29 +19 53[a]
3 สมุทรสาคร ซิตี้ 26 17 2 7 48 35 +13 53[a]
4 พราม แบงค็อก 26 13 7 6 36 22 +14 46
5 จามจุรี ยูไนเต็ด 26 10 8 8 33 31 +2 38
6 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 26 10 6 10 31 32 −1 36[b]
7 โบลาเวน สมุทรปราการ 26 8 12 6 33 27 +6 36[b]
8 นนทบุรี ยูไนเต็ด ส.บุญมีฤทธิ์ 26 9 4 13 35 36 −1 31
9 ทหารบก 26 8 6 12 25 39 −14 30
10 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 26 7 6 13 26 28 −2 27
11 เอสทีเค เมืองนนท์ 26 5 11 10 28 38 −10 26
12 ธนบุรี ยูไนเต็ด 26 6 7 13 25 35 −10 25
13 ทหารอากาศ 26 4 9 13 31 49 −18 21
14 สยาม (R) 26 4 8 14 17 38 −21 20 ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล : 1.คะแนนรวม 2.ผลต่างประตูได้-เสีย 3.จำนวนประตูได้ 4.จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1.คะแนนรวม 2.ผลการแข่งขันของทีมที่คะแนนเท่ากัน 3.ผลต่างประตูได้-เสียของทีมที่คะแนนเท่ากัน 4.จำนวนประตูได้ของทีมที่คะแนนเท่ากัน 5.ผลต่างประตูได้-เสียทั้งหมด 6.จำนวนประตูได้ทั้งหมด 7.คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8.เพลย์ออฟ[13]
(C) ชนะเลิศ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 1.2 ผลมินิลีกของมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (7 คะแนน, ผลต่างประตู +2) ดีกว่าบางกอก (7 คะแนน, ผลต่างประตู +1) และสมุทรสาคร ซิตี้ (3 คะแนน)
  2. 2.0 2.1 อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า กาญจนพัฒน์: โบลาเวน สมุทรปราการ 0–0 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 3–2 โบลาเวน สมุทรปราการ


อันดับตามสัปดาห์ แก้

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

ทีม / สัปดาห์1234567891011121314151617181920212223242526
จามจุรี ยูไนเต็ด7810111111111212101010101010107765555555
ทหารบก11769101099999898655556668899
ทหารอากาศ691110891010101112111213131313141414141313131413
ธนบุรี ยูไนเต็ด131313131313121111121112111111111110911111111111212
นนทบุรี ยูไนเต็ด ส.บุญมีฤทธิ์1065445456889799789109989988
บางกอก54113311234444333443333322
โบลาเวน สมุทรปราการ25859776576667899888876767
พราม แบงค็อก32432222111112444334444444
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต121078646886778678101111101097676
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ43221133322321111112211211
สยาม1414141414141414141414141414141414131313131414141314
สมุทรสาคร ซิตี้11367654443233222221122133
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก91297588775555556667771010101010
เอสทีเค เมืองนนท์811121212121313131313131312121212121212121212121111
เข้ารอบแข่งขันในรอบระดับประเทศ
ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น แก้

ทีม / สัปดาห์1234567891011121314151617181920212223242526
จามจุรี ยูไนเต็ดWLLDLDLLDWDLWDWDWWWWWDLDWL
ทหารบกLWDLLDWLWLDWLWWWLDWLDLLDLL
ทหารอากาศWLLDWLLLDLDDLLDLDLDLDDWLLW
ธนบุรี ยูไนเต็ดLLLLLDWDDLWLDWLWWDDLLDWLLL
นนทบุรี ยูไนเต็ด ส.บุญมีฤทธิ์LWWDWDWLLLLLWLLWLLLWDWLLWD
บางกอกWWWWLWWWLDDWDDWLWDDWWDWWWD
โบลาเวน สมุทรปราการWDLWLWDWDLDDDLLDDDWLDWWDWD
พราม แบงค็อกWWWWWDDWWWWDDLLLWWLDDDLWLW
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตLDWDWWLDWLDLDWLLLLLWDWWWLW
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพWWWWWDLWWWDWDWWWDLDDDWWLWD
สยามLLLLLLDLDLLLWDWLWDDDLLLDWD
สมุทรสาคร ซิตี้WWLLDWWWWWWWLDWWLWWWLLWWLW
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อกLLWWWLLWLWDDWLDLLWLLDLLDLD
เอสทีเค เมืองนนท์LLDDLLDLDDLWLWLWDDDDWDLDWL
อ้างอิง: ไทยลีก
W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน แก้

เหย้า / เยือน CCU RTA RAF TBU NUS BKK BSP PBK KBU NBU SIA SKC AIB SMN
จามจุรี ยูไนเต็ด 4–1 1–2 3–1 0–3 2–4 0–1 2–1 0–2 1–0 1–0 1–1 1–0 0–1
ทหารบก 0–1 0–1 1–1 1–0 1–0 0–0 0–3 1–0 0–1 1–1 4–5 2–1 1–1
ทหารอากาศ 2–2 3–1 0–3 1–4 1–2 0–0 1–2 1–3 1–4 0–1 2–3 1–3 3–1
ธนบุรี ยูไนเต็ด 1–1 0–0 1–1 1–2 0–1 0–1 1–0 2–2 0–1 1–0 1–3 2–1 0–0
นนทบุรี ยูไนเต็ด ส.บุญมีฤทธิ์ 1–2 1–1 1–1 1–3 1–1 1–2 0–0 3–0 0–1 0–1 1–2 0–3 3–2
บางกอก 0–0 2–1 5–3 2–1 1–0 2–1 1–0 3–1 3–3 3–0 0–1 3–1 2–2
โบลาเวน สมุทรปราการ 2–2 5–1 2–2 1–1 1–4 1–4 0–0 0–0 0–2 2–2 2–0 0–0 0–0
พราม แบงค็อก 2–1 2–1 0–0 4–1 4–1 0–0 0–3 1–0 3–1 2–1 2–3 1–0 2–0
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 0–1 0–2 1–1 3–1 1–2 5–3 3–2 1–0 0–0 1–0 1–0 0–2 1–2
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 0–0 3–0 3–1 1–0 1–0 2–3 0–0 0–0 0–0 2–0 3–1 1–0 1–1
สยาม 1–1 0–1 3–1 0–2 0–2 1–1 0–2 0–0 1–2 1–4 0–0 0–2 2–2
สมุทรสาคร ซิตี้ 0–2 3–0 2–1 2–1 3–2 1–2 2–1 1–3 2–1 0–1 5–1 2–1 2–1
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 2–1 0–1 0–0 3–0 1–2 0–0 1–1 2–2 0–1 0–0 0–1 1–3 1–0
เอสทีเค เมืองนนท์ 3–3 1–3 1–1 1–0 2–0 0–0 0–3 1–2 2–2 1–4 0–0 0–1 3–1
ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติ แก้