ภัยพิบัติทางอากาศมิวนิก

(เปลี่ยนทางจาก โศกนาฏกรรมมิวนิก)

โศกนาฏกรรมมิวนิก เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1958 เมื่อเครื่องบินของสายการบินบริติชยูโรเปียนแอร์เวย์ส เที่ยวบิน 609 พุ่งชนกับรันเวย์ของสนามบินมิวนิก-รีม ในมิวนิก ประเทศเยอรมนีตะวันตก โดยเครื่องบินลำดังกล่าวเป็นลำที่ผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ชุดที่ได้รับการขนามนามว่า "บัสบีเบบส์" โดยสารอยู่ด้วย เหตุการณ์นี้มีผู้โดยสารเสียชีวิต 23 คน จากทั้งหมด 44 คน ซึ่ง 8 คนเป็นผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ส่วนศพที่เหลือเป็นเจ้าหน้าที่สโมสร, แฟนบอล และนักข่าว นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเสียชีวิตที่โรงพยาบาลอีก 3 คน

โศกนาฏกรรมมิวนิก
สรุปอุบัติการณ์
วันที่6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1958
สรุปพุ่งชนรันเวย์
จุดเกิดเหตุมิวนิก, เยอรมนีตะวันตก
ประเภทอากาศยานAirspeed AS-57 Ambassador
ดําเนินการโดยบริติชยูโรเปียนแอร์เวย์ส
ทะเบียนG-ALZU
ต้นทางท่าอากาศยานเบลเกรด ยูโกสลาเวีย
จุดพักสนามบินมิวนิก-รีม เยอรมนีตะวันตก
ปลายทางท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ อังกฤษ
ผู้โดยสาร38
ลูกเรือ6
เสียชีวิต23
บาดเจ็บ19

เบื้องหลัง แก้

การพุ่งชน แก้

ผู้เสียชีวิต แก้

ลูกเรือ แก้

  • เคน เรย์เมนต์, ผู้ช่วยนักบิน (เสียชีวิตที่โรงพยาบาลใน 3 สัปดาห์หลังจากนั้น)
  • ทอม เคเบิล, สจ๊วร์ตเครื่องบิน

ผู้โดยสาร แก้

 
A plaque at Old Trafford in memory of the Munich air disaster
 
The Munich Clock, on the South-East corner of Old Trafford
ผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
โค้ชของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
นักข่าว
ผู้โดยสารคนอื่น
  • เบลา มิคลาส, เอเยนต์บริษัททัวร์
  • วิลลี ซาตินอฟท์, แฟนบอลและเพื่อนของ แมตต์ บัสบี

ผู้รอดชีวิต แก้

ลูกเรือ แก้

  • มากาเร็ต เบลลิส, แอร์โฮสเตจ (เสียชีวิตในปี 1998)[1]
  • โรสแมรี เชเวอร์ตัน, แอร์โฮสเตจ
  • จอร์จ รอดเจอร์ส, เจ้าหน้าที่สื่อสาร (เสียชีวิตในปี 1997)[2]
  • เจมส์ เธนส์, กัปตันเครื่องบิน (เสียชีวิตในปี 1975)[3]

ผู้โดยสาร แก้

ผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
โค้ชของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
นักข่าวและช่างภาพ
ผู้โดยสารคนอื่น
  • เวรา ลูคิช และลูกสาว เวโรนา, ผู้โดยสารที่ แฮร์รี เกร็กก์ ช่วยเหลือ[10]
  • นางมิคลอส, ภรรยาของ เบลา มิคลอส
  • เอ็น โทมาเซวิช, ผู้โดยสาร

ผลกระทบ แก้

ผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเสียชีวิตทันที 7 ราย และ ดันแคน เอ็ดเวิร์ด ซึ่งได้รับบาดเจ็บ เสียชีวิตในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ที่โรงพยาบาล หลังจากนั้น จอห์นนี เบอร์รี และ แจ็คกี บลันช์ฟลาวเวอร์ ได้เลิกเล่นฟุตบอลอย่างถาวร[11] ขณะที่ แมตต์ บัสบี ได้รับบาดเจ็บสาหัสต้องรักษาตัวที่โรงพยาบาลมากกว่า 2 เดือน[12]

การรำลึก แก้

โอลด์แทรฟฟอร์ด แก้

มิวนิก แก้

ครบรอบ 40 ปี แก้

ครบรอบ 50 ปี แก้

อ้างอิง แก้

  1. Dix, Barry (8 August 2008). "Fly Past: Survivors of Munich". Hounslow Chronicle. Trinity Mirror Southern. สืบค้นเมื่อ 11 January 2009.
  2. "The 21st Survivor". Munich58.co.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-08-28. สืบค้นเมื่อ 11 January 2009.
  3. Leroux, Marcus (30 January 2008). "Captain James Thain cleared of blame after the thawing of hostilities". The Times. Times Newspapers. สืบค้นเมื่อ 11 January 2009.
  4. Barnes et al., p. 66
  5. "Busby Babe loses battle against cancer". BBC News. 2 September 1998. สืบค้นเมื่อ 10 January 2009.
  6. "Busby Babe dies". BBC News. 7 March 1999. สืบค้นเมื่อ 10 January 2009.
  7. Wilson, Bill (4 February 2008). "Waiting for news from Munich". BBC News. สืบค้นเมื่อ 10 January 2009.
  8. "1969: Matt Busby retires from Man United". On This Day. 14 January. 14 January 2008. สืบค้นเมื่อ 11 January 2009.
  9. Glanville, Brian (22 July 2002). "Obituary: Frank Taylor". guardian.co.uk. Guardian News and Media. สืบค้นเมื่อ 11 January 2009.
  10. "Gregg's 'greatest save' - Munich remembered". BBC News. 4 February 2008. สืบค้นเมื่อ 7 October 2008.
  11. Hall, p. 340
  12. Barnes et al., p. 17

แหล่งข้อมูลอื่น แก้