โดเงซะ (ญี่ปุ่น: 土下座โรมาจิDogeza) เป็นองค์ประกอบของมารยาทญี่ปุ่นแบบดั้งเดิม ได้แก่การคุมเข่ากับพื้นโดยตรงแล้วโค้งมอบกราบโดยนำศีรษะแตะกับพื้น[1][2][3] เพื่อใช้แสดงความเคารพต่อบุคคลที่มีสถานะสูงกว่า เพื่อแสดงความขอโทษอย่างสูง หรือเพื่อแสดงความต้องการความช่วยเหลือจากบุคคลดังกล่าว

สองท่าทางที่ใช้ในการโดเงซะ

คำว่าโดเงซะใช้ในการเมืองของประเทศญี่ปุ่น เช่น "โดเงซะ-ไกโก" (土下座外交) มีความหมายว่า "คุกเข่าคำนับทางการทูต"[4][5][6]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Takamura, Kōtarō; Sato, Hiroaki (translation) (1992). A brief history of imbecility: poetry and prose of Takamura Kōtarō. University of Hawaii Press. p. 253. ISBN 0-8248-1456-8.
  2. Leaman, Oliver Friendship East and West: philosophical perspectives p. 74
  3. American Chamber of Commerce in Japan (2006) The Journal of the American Chamber of Commerce in Japan ACCJ p. 54
  4. Dobson, Hugo (2003) [Japan and United Nations peacekeeping: new pressures, new responses] Routledge, p. 20 ISBN 0-415-26384-0
  5. Olsen, Edward A. (1985) U.S.-Japan Strategic Reciprocity: A Neo-Internationalist View Hoover Press, vol. 307. p.109
  6. Drifte, Reinhard (2003) Japan's security relations with China since 1989: from balancing to bandwagoning? Routledge, p.7 ISBN 0-415-30507-1