แลนซ์ อาร์มสตรอง

แลนซ์ เอ็ดเวิร์ด อาร์มสตรอง (อังกฤษ: Lance Edward Armstrong, สกุลเดิม: กันเดอร์สัน (Gunderson); เกิดวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1971)[4] เป็นอดีตนักแข่งจักรยานถนนอาชีพชาวอเมริกัน เขาเป็นแชมป์โลกในปี 1993 หลังจากเลิกแข่งจักรยาน อาร์มสตรองยังลงแข่งวิ่งมาราธอน การแข่งจักรยานภูเขามาราธอน ไตรกีฬาและไอรอนแมน (Ironman)

แลนซ์ อาร์มสตรอง
แลนซ์ อาร์มสตรองในการแข่งขันตูร์เดอฟรองซ์ ปี 2010
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อเต็มLance Edward Armstrong
ชื่อเล่นLe Boss[1]
Big Tex[2]
วันเกิด (1971-09-18) กันยายน 18, 1971 (52 ปี)
ริชาร์ดสัน รัฐเท็กซัส สหรัฐ
ส่วนสูง1.77 เมตร (5 ฟุต 9 12 นิ้ว)[3]
น้ำหนัก75 กิโลกรัม (165 ปอนด์)[3]
ข้อมูลทีม
ประเภทถนน
บทบาทนักจักรยาน
ประเภทนักจักรยานAll-rounder
ทีมสมัครเล่น
1990–1991แม่แบบ:Cycling data DSC
1991ทีมชาติสหรัฐ
ทีมอาชีพ
1992–1996โมโตโรลา
1997แม่แบบ:Cycling data COF
1998–2005แม่แบบ:Cycling data DSC
2009แม่แบบ:Cycling data AST
2010–2011แม่แบบ:Cycling data RSH
ชัยชนะครั้งสำคัญ
Grand Tour
ตูร์เดอฟร็องส์
2 individual stages (1993, 1995)

Stage races

Tour de Luxembourg (1998)
Tour DuPont (1995, 1996)

One-day races and Classics

World Road Race Championships (1993)
National Road Race Championships (1993)
Clásica de San Sebastián (1995)
La Flèche Wallonne (1996)
Trofeo Laigueglia (1993)
ผลงานเกียรติยศ
ตัวแทนของ  สหรัฐ
จักรยานชาย
ชิงแชมป์โลก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1993 ออสโล Elite Men's Road Race
เกมโอลิมปิก
ถูกตัดสิทธิ์ 2000 ซิดนีย์ Men's time trial

เขาเป็นที่รู้จักกันดีจากผลงานของเขาในการแข่งขันตูร์เดอฟร็องส์ แต่ในเดือนมิถุนายน 2012 คณะกรรมการต่อต้านการใช้สารกระตุ้นของสหรัฐอเมริกา (US Anti-Doping Agency, USADA) กล่าวหาว่าอาร์มสตรองใช้สารกระตุ้นผิดกฎหมาย[5] และในเดือนสิงหาคม คณะกรรมการดังกล่าวประกาศสั่งห้ามมิให้อาร์มสตรองลงแข่งขันตลอดชีพ เช่นเดียวกับริบตำแหน่งทั้งหมด วันที่ 22 ตุลาคม 2012 สหพันธ์จักรยานสากล ซึ่งเป็นองค์กรกำกับดูแล ยอมรับคำตัดสินของ USADA และยืนยันทั้งการสั่งห้ามตลอดชีพและการริบตำแหน่งทั้งหมดตั้งแต่เดือนสิงหาคม 1998[6] ซึ่งรวมถึงแชมป์ตูร์เดอฟร็องส์ตั้งแต่ปี 1999 ถึง 2005

แลนซ์​ อาร์มสตรอง ป่วยเป็นโรคมะเร็งที่สมอง ปอด และอัณฑะ เมื่อปี 1996 เขามีชื่อเสียงอย่างมากในการเอาชนะมะเร็งและกลับมาแข่งจักรยานได้อีกครั้ง เขาเป็นผู้ก่อตั้งและอดีตประธานมูลนิธิแลนซ์ อาร์มสตรองเพื่อการสนับสนุนผู้ป่วยมะเร็ง ในเดือนตุลาคม 2012 อาร์มสตรองลาออกจากตำแหน่งประธานหลังมีการตีพิมพ์ข้อกล่าวหาของ USADA[7]

สถิติรายการใหญ่ แก้

Grand Tour 1993 1994 1995 1996 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2009 2010
  Vuelta - - - - 4 - - - - - - - - -
  Giro - - - - - - - - - - - - 11 -
  Tour WD WD 36 WD - 1 1 1 1 1 1 1 3 23

WD = ถอนตัว

หมายเหตุและอ้างอิง แก้

หมายเหตุ
อ้างอิง
  1. Fotheringham, William (2011). Cyclopedia: It's All about the Bike. Chicago Review Press. p. 18. ISBN 978-1-56976-948-5.
  2. Reilly, Rick (July 5, 2010). "Armstrong keeps passing tests". espn.go.com. สืบค้นเมื่อ May 12, 2013.
  3. 3.0 3.1 "Tour de France 2009 – Rider −22- Lance Armstrong". Letour.fr. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 12, 2012. สืบค้นเมื่อ November 10, 2012.
  4. Library, C. N. N. (January 17, 2013). "Lance Armstrong Fast Facts". CNN.
  5. "Lance Armstrong". สืบค้นเมื่อ 2012-06-30.
  6. "Lance Armstrong: Governing body strips American of Tour wins". BBC News. 22 October 2012. สืบค้นเมื่อ 22 October 2012.
  7. Pilon, Mary (October 17, 2012). "Armstrong Is Dropped by Nike and Steps Down as Foundation Chairman". New York Times. สืบค้นเมื่อ October 18, 2012.

บรรณานุกรม แก้

อ่านเพิ่ม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้