เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ เป็นเรือบรรทุกอากาศยานที่มีหน้าที่หลักในการใช้เฮลิคอปเตอร์เป็นหลัก นอกจากนี้เครื่องบินบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ยังได้ถูกใช้เป็นเรือบรรทุกอากาศยานต่อต้านเรือดำน้ำและเรือโจมตีสะเทินน้ำสะเทินบกอีกด้วย

เรือยูเอสเอสบอกเซอร์ของกองทัพเรือสหรัฐ เป็นเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ชั้นวาสป์

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์สามารถมีความยาวของดาดฟ้าเรือเต็มที่ได้เท่ากับเรือรบหลวงโอเชี่ยนของราชนาวีอังกฤษ[1]หรือมีลานจอดขนาดใหญ่สำหรับเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งส่วนมากจะอยู่ที่กราบเรือ เหมือนกับเรือชั้นมอสคาว่าของกองทัพเรือโซเวียตหรือเรืออาร์กัสของกองเรือหลวงสนับสนุนของราชนาวีอังกฤษ ดาดฟ้าเรือที่มีความยาวเต็มที่นั้นออกแบบมาเพื่อให้มีพื้นที่ในการลงจอดสำหรับเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งการออกแบบดังกล่าวยังถูกนำเอาไปใช้ในโรงเก็บอากาศยานบนเรืออีกด้วย

การนิยามเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์แบบแท้จริงในศตวรรษที่ 21 นั้นนับว่าเป็นเรื่องยาก นั้นก็เพราะมีการสร้างอากาศยานปีกนิ่งที่ลงจอดในแนวดิ่งขึ้นมา เช่น แฮริเออร์จัมพ์เจ็ท ซึ่งมีการจัดชนิดที่ซับซ้อน ตัวอย่างเช่น ในกรณีของเรือโจมตีสะเทื้อนน้ำสะเทื้อนบกชั้นวาสป์ของนาวิกโยธินสหรัฐ ที่บรรทุกเครื่องบินแฮริเออร์ 6-8 ลำ พร้อมกับเฮลิคอปเตอร์อีก 30 ลำ ดังนั้นจึงมีแค่เรือบรรทุกอากาศยานขนาดเล็กที่ไม่สามารถบรรทุกเครื่องบินแฮริเออร์และเรือบรรทุกอากาศยานยุคก่อนการสร้างเครื่องบินแฮริเออร์เท่านั้นที่จัดได้ว่าเป็นเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์อย่างแท้จริง ในหลายกรณี เรือบรรทุกอากาศยานที่สามารถบรรทุกเครื่องบินปีกนิ่งขึ้นลงในแนวดิ่งได้นั้นจะถูกจัดเป็นเรือบรรทุกอากาศยานขนาดเล็ก เรือแบบอื่นๆ อย่างเรือชั้นวาสป์นั้นสามารถบรรทุกทหารราบและส่งพวกเขาขึ้นบกได้ เรือดังกล่าวจึงถูกจัดว่าเป็นเรือโจมตีสะเทินน้ำสะเทินบก

เรือเอชเอ็มเอสโอเชียนของกองทัพเรือสหราชอาณาจักร

เรือรบหลวงเฮอร์เมสและเรือพี่น้องของมันอีกสองลำเป็นกองเรือบรรทุกอากาศยานขนาด 20,000 ตันที่ถูกเปลี่ยนให้เป็นเรือบรรทุกอากาศยานคอมมานโดที่บรรทุกเพียงแต่เฮลิคอปเตอร์เท่านั้น ต่อมาเรือเฮอร์เมสได้ถูกเปลี่ยนเป็นเรือบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งขึ้นลงในแนวดิ่งแทน

เรือ ฮีวงะ (16DDH) ของกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น
เรือ ROKS Dokdo (LPH 6111) ของกองทัพเรือเกาหลีใต้

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์แบ่งตามประเทศ แก้

ประเทศ นาวี ประจำการ ปลดประจำการ อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
  ออสเตรเลีย   ราชนาวีออสเตรเลีย 2 0 0
  อียิปต์   กองทัพเรืออียิปต์ 2 0 0
  ฝรั่งเศส   กองทัพเรือฝรั่งเศส 3 0 0
  อินเดีย   กองทัพเรืออินเดีย 2 0 0 (+ 4 planned)
  ญี่ปุ่น   กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น 4 0 0
  เกาหลีใต้   กองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลี 1 0 1
  สเปน   กองทัพเรือสเปน 1 0 0
  ตุรกี   กองทัพเรือตุรกี 0 0 1
  สหราชอาณาจักร   ราชนาวี 2 0 0
  สหรัฐ   กองทัพเรือสหรัฐ 9 3 1 (+ 10 planned)

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ แก้

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ปัจจุบันที่ใช้ แก้

ประเทศ ชื่อ (รหัส) ความยาว ระวางขับน้ำ (ตัน) ชั้น พลังงาน ประเภท การจัดแบ่งประเภท เสร็จสมบูรณ์
  ออสเตรเลีย Canberra (L02) 230.82 230.82 m (757.3 ft) 027500 27,500 mt Canberra
(modified Juan Carlos I)
Conventional STOVL Landing Helicopter Dock 28 November 2014
  ออสเตรเลีย Adelaide (L01) 230.82 230.82 m (757.3 ft) 027500 27,500 mt Canberra
(modified Juan Carlos I)
Conventional STOVL Landing Helicopter Dock 4 December 2015
  อียิปต์ Gamal Abdel Nasser (L1010) 199 199 m (653 ft) 021300 21,300 mt Mistral Conventional VTOL Landing Helicopter Dock 2 June 2016 [2]
  อียิปต์ Anwar El Sadat (L1020) 199 199 m (653 ft) 021300 21,300 mt Mistral Conventional VTOL Landing Helicopter Dock 16 September 2016
  ฝรั่งเศส Mistral (L9013) 199 199 m (653 ft) 021300 21,300 mt Mistral Conventional VTOL Landing Helicopter Dock December 2005
  ฝรั่งเศส Tonnerre (L9014) 199 199 m (653 ft) 021300 21,300 mt Mistral Conventional VTOL Landing Helicopter Dock December 2006
  ฝรั่งเศส Dixmude (L9015) 199 199 m (653 ft) 021300 21,300 mt Mistral Conventional VTOL Landing Helicopter Dock December 2011
  ญี่ปุ่น JS Kaga (DDH-184) 248 248 m (814 ft) 027000 27,000 mt Izumo Conventional VTOL Helicopter destroyer 22 March 2017
  ญี่ปุ่น JS Izumo (DDH-183) 248 248 m (814 ft) 027000 27,000 mt Izumo Conventional VTOL Helicopter destroyer 25 March 2015
  ญี่ปุ่น JS Hyūga (DDH-181) 197 197 m (646 ft)[3] 013950 19,000 mt Hyūga Conventional VTOL Helicopter destroyer 18 March 2009
  ญี่ปุ่น JS Ise (DDH-182) 197 197 m (646 ft)[3] 013950 19,000 mt Hyūga Conventional VTOL Helicopter destroyer 16 March 2011
  เกาหลีใต้ Dokdo (LPH-6111) 199 199 m (653 ft) 018800 18,800 mt Dokdo Conventional VTOL Landing Platform Helicopter 3 July 2007
  สเปน Juan Carlos I (L-61) 230.82 230.82 m (757.3 ft) 027079 27,079 mt Juan Carlos I Conventional STOVL Landing Helicopter Dock 30 September 2010
  สหราชอาณาจักร Ocean (L12) 203.4 203.4 m (667 ft) 021500 21,500 mt Ocean Conventional VTOL Landing Platform Helicopter 30 September 1998
  สหราชอาณาจักร Argus (A135)[4] 175.1 175.1 m (574 ft) 020081 20,081 mt Unique merchant conversion Conventional VTOL Aviation Training Ship 1 June 1988
  สหรัฐ America (LHA-6) 257.3 257.3 m (844 ft) 045000 45,000 mt America[5] Conventional STOVL Landing Helicopter Assault 11 October 2014[6]
  สหรัฐ Wasp (LHD-1) 257 257 m (843 ft) 040532 40,532 mt Wasp[5] Conventional STOVL Landing Helicopter Dock 29 July 1989
  สหรัฐ Essex (LHD-2) 257 257 m (843 ft) 040650 40,650 mt Wasp Conventional STOVL Landing Helicopter Dock 17 October 1992
  สหรัฐ Kearsarge (LHD-3) 257 257 m (843 ft) 040500 40,500 mt Wasp Conventional STOVL Landing Helicopter Dock 16 October 1993
  สหรัฐ Boxer (LHD-4) 257 257 m (843 ft) 040722 40,722 mt Wasp Conventional STOVL Landing Helicopter Dock 11 February 1995
  สหรัฐ Bataan (LHD-5) 257 257 m (843 ft) 040358 40,358 mt Wasp Conventional STOVL Landing Helicopter Dock 20 September 1997
  สหรัฐ Bonhomme Richard (LHD-6) 257 257 m (843 ft) 040500 40,500 mt Wasp Conventional STOVL Landing Helicopter Dock 15 August 1998
  สหรัฐ Iwo Jima (LHD-7) 257 257 m (843 ft) 040530 40,530 mt Wasp Conventional STOVL Landing Helicopter Dock 30 June 2001
  สหรัฐ Makin Island (LHD-8) 258 258 m (846 ft) 041649 41,649 mt Wasp Conventional STOVL Landing Helicopter Dock 24 October 2009

ปลดเป็นเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ แก้

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง แก้

 
Dixmude a Mistral class helicopter carrier of the French Navy

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. http://www.naval-technology.com/projects/ocean/
  2. "DCNS DELIVERS THE SECOND MISTRAL-CLASS HELICOPTER CARRIER TO THE EGYPTIAN NAVY, THE LHD ANWAR EL SADAT". 16 September 2016.
  3. 3.0 3.1 "Hyuga Class". JMSDF Gallery(Japanese). JMSDF. สืบค้นเมื่อ 27 February 2015.
  4. B. Ireland and F. Crosby (2011). The Illustrated Encyclopaedia of Aircraft Carriers And Naval Aircraft. Hermes House. p. 189.{{cite book}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  5. 5.0 5.1 World Wide Aircraft Carriers
  6. "America 'Sails Away' for Maiden Transit to San Diego Homeport". United States Navy. 10 October 2014.
  7. "BBC News - Warship HMS Illustrious starts sea trials". Bbc.co.uk. 2011-06-17. สืบค้นเมื่อ 2014-04-20.