เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์

เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์ (Mercury(I) chloride) เป็นสารประกอบเคมีมีสูตรเป็น Hg2Cl2 ชื่อสามัญเรียก calomel[4] (พบได้น้อยในธรรมชาติ) หรือ mercurous chloride ซึ่งควบแน่นเป็นของแข็งสีขาวหรือขาวอมเหลือง เป็นสารประกอบของ mercury(I) ใช้เป็นส่วนประกอบของอิเล็กโทรดอ้างอิงในเคมีไฟฟ้า[5][6]

เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์
ชื่อ
IUPAC name
Dimercury dichloride
ชื่ออื่น
Mercury(I) chloride
Mercurous chloride
Calomel
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.030.266 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 233-307-5
25976
RTECS number
  • OV8750000
UNII
UN number 3077
  • InChI=1S/2ClH.2Hg/h2*1H;;/q;;2*+1/p-2 checkY
    Key: ZOMNIUBKTOKEHS-UHFFFAOYSA-L checkY
  • Cl[Hg][Hg]Cl
คุณสมบัติ
Hg2Cl2
มวลโมเลกุล 472.09 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ของแข็งสีขาว
ความหนาแน่น 7.150 g/cm3
จุดหลอมเหลว 383 องศาเซลเซียส (721 องศาฟาเรนไฮต์; 656 เคลวิน) (sublimes)
0.2 mg/100 mL
Solubility product, Ksp 1.43×10−18[1]
ความสามารถละลายได้ ไม่ละลายในเอทานอล, อีเทอร์
−26.0·10−6 cm3/mol
1.973
โครงสร้าง
เหลี่ยม
อุณหเคมี
Std molar
entropy
(S298)
196 J·mol−1·K−1[2]
−265 kJ·mol−1[2]
ความอันตราย
GHS labelling:
The exclamation-mark pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)The environment pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
เตือน
H302, H315, H319, H335, H410
P261, P264, P270, P271, P273, P280, P301+P312, P302+P352, P304+P340, P305+P351+P338, P312, P321, P330, P332+P313, P337+P313, P362, P391, P403+P233, P405, P501
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 3: Short exposure could cause serious temporary or residual injury. E.g. chlorine gasFlammability 0: Will not burn. E.g. waterInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
3
0
0
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
210 mg/kg (rat, oral)[3]
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) ICSC 0984
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
เมอร์คิวรี(I) ฟลูออไรด์
Mercury(I) bromide
Mercury(I) iodide
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
เมอร์คิวรี(II) คลอไรด์
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ในตำรายาไทย เรียกคาโลเมลว่า โกฐกะเพ่อ นำมาลดพิษโดยกวนกับน้ำดอกไม้เทศและน้ำคั้นจากต้นมะแว้งนก แล้วใส่ถ้วย เผาด้วยไฟจากมูลโค ใช้เป็นยาแก้ไข้ ไอเป็นเลือด ริดสีดวง ในเปอร์เซียใช้รักษาซิฟิลิส[7]

อ้างอิง แก้

  1. John Rumble (June 18, 2018). CRC Handbook of Chemistry and Physics (ภาษาอังกฤษ) (99 ed.). CRC Press. pp. 5–188. ISBN 978-1138561632.
  2. 2.0 2.1 Zumdahl, Steven S. (2009). Chemical Principles 6th Ed. Houghton Mifflin Company. p. A22. ISBN 978-0-618-94690-7.
  3. "Mercury compounds [except (organo) alkyls] (as Hg)". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  4.   Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). "Calomel" . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์.
  5. Housecroft, C. E.; Sharpe, A. G. (2004). Inorganic Chemistry (2nd ed.). Prentice Hall. pp. 696–697. ISBN 978-0-13-039913-7.
  6. Skoog, Douglas A.; Holler, F. James; Nieman, Timothy A. (1998). Principles of Instrumental Analysis (5th ed.). Saunders College Pub. pp. 253–271. ISBN 978-0-03-002078-0.
  7. ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 5 คณาเภสัช. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2548.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้