เจ้าภาพฟุตบอลโลก

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

มี 16 ประเทศที่ได้เป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก จากการแข่งขันทั้งหมด 22 ครั้ง นับตั้งแต่การแข่งขันฟุตบอลโลกในปี ค.ศ. 1930

โลโก้ของฟีฟ่า
แผนที่เจ้าภาพฟุตบอลโลกระหว่าง ค.ศ. 1930-2022

รายชื่อเจ้าภาพ แก้

ค.ศ. เจ้าภาพ ทวีป
1930   อุรุกวัย อเมริกาใต้
1934   อิตาลี ยุโรป
1938   ฝรั่งเศส ยุโรป
1942 ยกเลิกเนื่องจากเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง
1946 ยกเลิกเนื่องจากเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง
1950   บราซิล อเมริกาใต้
1954   สวิตเซอร์แลนด์ ยุโรป
1958   สวีเดน ยุโรป
1962   ชิลี อเมริกาใต้
1966   อังกฤษ ยุโรป
1970   เม็กซิโก อเมริกาเหนือ
1974   เยอรมนีตะวันตก ยุโรป
1978   อาร์เจนตินา อเมริกาใต้
1982   สเปน ยุโรป
1986   เม็กซิโก อเมริกาเหนือ
1990   อิตาลี ยุโรป
1994   สหรัฐ อเมริกาเหนือ
1998   ฝรั่งเศส ยุโรป
2002   ญี่ปุ่น
  เกาหลีใต้
เอเชีย
2006   เยอรมนี ยุโรป
2010   แอฟริกาใต้ แอฟริกา
2014   บราซิล อเมริกาใต้
2018   รัสเซีย ยุโรป
2022   กาตาร์ เอเชีย
2026   แคนาดา
  เม็กซิโก
  สหรัฐ
อเมริกาเหนือ
2030 เจ้าภาพหลัก:

  โมร็อกโก   โปรตุเกส
  สเปน

เจ้าภาพกิตติมศักดิ์:

  อาร์เจนตินา   ปารากวัย
  อุรุกวัย

แอฟริกา
ยุโรป
อเมริกาใต้
2034   ซาอุดีอาระเบีย เอเชีย

ผลงานของเจ้าภาพ แก้

No. ปี ชาติเจ้าภาพ ผลงาน
1 1930   อุรุกวัย ชนะเลิศ
2 1934   อิตาลี ชนะเลิศ
3 1938   ฝรั่งเศส รอบก่อนชิงชนะเลิศ‡
4 1950   บราซิล รองชนะเลิศ 
5 1954   สวิตเซอร์แลนด์ รอบก่อนชิงชนะเลิศ†
6 1958   สวีเดน รองชนะเลิศ
7 1962   ชิลี อันดับ 3
8 1966   อังกฤษ ชนะเลิศ
9 1970   เม็กซิโก รอบก่อนชิงชนะเลิศ†
10 1974   เยอรมนีตะวันตก ชนะเลิศ
11 1978   อาร์เจนตินา ชนะเลิศ
12 1982   สเปน รอบ 2 (12 อันดับ) (Format was different from other cups.)
13 1986   เม็กซิโก รอบก่อนชิงชนะเลิศ†
14 1990   อิตาลี อันดับ 3
15 1994   สหรัฐ รอบ 16 ทีม
16 1998   ฝรั่งเศส ชนะเลิศ
17 2002   เกาหลีใต้ อันดับ 4
  ญี่ปุ่น รอบ 16 ทีม†
18 2006   เยอรมนี อันดับ 3
19 2010   แอฟริกาใต้ รอบคัดเลือก†
20 2014   บราซิล อันดับ 4
21 2018   รัสเซีย รอบก่อนรองชนะเลิศ
22 2022   กาตาร์ รอบแบ่งกลุ่ม
23 2026   แคนาดา TBD
  เม็กซิโก TBD
  สหรัฐ TBD

การเสนอตัวทั้งหมดแบ่งตามประเทศ แก้

ชนะการเสนอตัวบอลโลกอยู่ในสีเข้ม

ประเทศ เสนอ ปี
  เยอรมนี 6 1938, 1962,[a] 1966,[a] 1974,[a] 1982,[a] 2006
  อาร์เจนตินา 5 1938, 1962, 1970, 1978, 2030[b]
  เม็กซิโก 1970, 1978, 1986,[c] 2002, 2026[d]
  โมร็อกโก 1994, 1998, 2006, 2010, 2026
  สเปน 1930, 1966, 1974, 1982, 2018[e]
  บราซิล 4 1950, 1994, 2006, 2014
  อังกฤษ 1966, 1990, 2006, 2018
  สหรัฐ 1986, 1994, 2022, 2026[d]
  อิตาลี 3 1930, 1934, 1990
  ญี่ปุ่น 1970, 2002,[f] 2022
  แคนาดา 2 1986, 2026[d]
  ชิลี 1962, 2014
  โคลอมเบีย 1986,[c] 2014
  ฝรั่งเศส 1938, 1998
  เนเธอร์แลนด์ 1930, 2018[g]
  รัสเซีย 1990,[h] 2018
  แอฟริกาใต้ 2006, 2010
  เกาหลีใต้ 2002,[f] 2022
  สวิตเซอร์แลนด์ 1954, 1998
  อุรุกวัย 1930, 2030[b]
  ออสเตรเลีย 2022
  เบลเยียม 1 2018[g]
  อียิปต์ 2010
  กรีซ 1990
  ฮังการี 1930
  อิหร่าน 1990
  ลิเบีย 2010[i]
  ปารากวัย 2030[b]
  โปรตุเกส 2018[e]
  กาตาร์ 2022
  สวีเดน 1958
  ตูนิเซีย 2010[i]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 Bid by West Germany, which was joined by East Germany in 1990 to form the reunified nation of Germany.
  2. 2.0 2.1 2.2 Joint bid by Argentina, Paraguay and Uruguay.
  3. 3.0 3.1 Colombia was originally chosen to host the 1986 World Cup, but withdrew from hosting due to economic concerns. After a second bidding, Mexico was selected as the replacement host.
  4. 4.0 4.1 4.2 เสนอตัวเป็นเจ้าภาพร่วมโดยแคนาดา, เม็กซิโก และสหรัฐ
  5. 5.0 5.1 เสนอตัวเป็นเจ้าภาพร่วมโดยโปรตุเกสและสเปน
  6. 6.0 6.1 เสนอตัวเป็นเจ้าภาพร่วมโดยญี่ปุ่นและเกาหลีใต้
  7. 7.0 7.1 เสนอตัวเป็นเจ้าภาพร่วมโดยเบลเยียมและเนเธอร์แลนด์
  8. Bid by the Soviet Union, which dissolved into multiple countries in 1991 and whose records are inherited by Russia.
  9. 9.0 9.1 Joint bid by Libya and Tunisia.

ดูเพิ่ม แก้

ข้อมูล แก้

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้