อีเอฟแอลคัพ 2017 นัดชิงชนะเลิศ

การแข่งขัน ฟุตบอลลีกคัพ 2017 นัดชิงชนะเลิศ หรือ อีเอฟแอลคัพ 2017 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันฟุตบอลที่จะมีขึ้นในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2017 ระหว่าง แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด และ เซาแทมป์ตัน ที่ สนามกีฬาเวมบลีย์ ในกรุงลอนดอน, ประเทศอังกฤษ.[2] มันเป็นนัดชิงชนะเลิศของ อีเอฟแอลคัพ ฤดูกาล 2016–17. นัดชิงชนะเลิศจะเป็นนัดชิงชนะเลิศลีกคัพครั้งแรกภายใต้ชื่อที่ใช้ในการแข่งขันที่มีชื่อว่า อีเอฟแอล คัพ ตามชื่อจากการถอนตัวของผู้สนับสนุน แคปิตอล วัน และเปลี่ยนชื่อของ เดอะ ฟุตบอล ลีก เป็นเดอะ อิงลิช ฟุตบอล ลีก (อีเอฟแอล).[3] ทีมที่ชนะเลิศจะได้ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสามของ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2017–18.[4]

อีเอฟแอลคัพ 2017 นัดชิงชนะเลิศ
สนามกีฬาเวมบลีย์ จะเป็นเจ้าภาพในนัดชิงชนะเลิศ
รายการอีเอฟแอลคัพ ฤดูกาล 2016–17
วันที่26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2017
สนามสนามกีฬาเวมบลีย์, ลอนดอน
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
ซลาตัน อีบราฮีมอวิช (แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด)
ผู้ตัดสินอันเดร มาร์ริเนอร์ (เวสต์มิดแลนด์ส)[1]
ผู้ชม85,264 คน
2016
2018 →

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ แก้

แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด แก้

รอบ คู่แข่งขัน ผล
3 นอร์แทมป์ตันทาวน์ (A) 3–1
4 แมนเชสเตอร์ซิตี (H) 1–0
5 เวสต์แฮมยูไนเต็ด (H) 4–1
รอบรองชนะเลิศ ฮัลล์ซิตี (H) 2–0
ฮัลล์ซิตี (A) 1–2
สัญลักษณ์: (H) = สนามเหย้า; (A) = สนามเยือน.

แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด, ในฐานะสโมสรจากพรีเมียร์ลีกได้มีส่วนร่วมใน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17, เริ่มต้นการแข่งขันในรอบที่สามโดยที่พวกเขาได้ถูกจับสลากออกไปเยือนทีมจาก ฟุตบอลลีกวัน นอร์แทมป์ตัน ทาวน์. ที่ สนามกีฬาซิกซ์ฟีลด์ส แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ชนะ 3-1 โดยการทำประตูของ ไมเคิล แคร์ริก, อันเดร์ เอร์เรรา และ มาร์คัส แรชฟอร์ด.[5] ในรอบที่สี่พวกเขาได้ถูกจับสลากมาพบกับคู่อริตลอดกาลจากเมือง แมนเชสเตอร์ แมนเชสเตอร์ซิตี ที่สนามเหย้าของพวกเขาที่ โอลด์แทรฟฟอร์ด, แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เอาชนะไปได้ 1–0 มาจากประตูของ ควน มาตา.[6] ในรอบก่อนรองชนะเลิศพวกเขาได้ถูกจับสลากมาพบกับทีมจากพรีเมียร์ลีก เวสต์แฮม ยูไนเต็ด ที่โอลด์แทรฟฟอร์ด, โดยพวกเขาก้าวเข้าสู่รอบต่อไปได้สำเร็จด้วยการเอาชนะไปได้ 4–1 มาจากคนละสองประตูของ ซลาตัน อีบราฮีมอวิช และ อ็องตอนี มาร์ซียาล แม้จะไม่มีผู้จัดการทีมอย่าง โชเซ มูรีนโย จะโดนโทษแบนห้ามคุมทีมข้างสนามก็ตาม.[7]

ในรอบรองชนะเลิศสองนัด, พวกเขาได้ถูกจับสลากพบกับทีมจากพรีเมียร์ลีก ฮัลล์ ซิตี. แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ชนะเลกแรกที่โอลด์ แทรฟฟอร์ด ไปก่อน 2–0 มาจากมาตาและ มารวน แฟลายนี[8] และแพ้ในเกมเลกที่สอง 2–1 ที่สนาม เคคอม สเตเดียม ถึงแม้จะมีประตูจาก ปอล ปอกบา ก็ตามแต่ช่วยให้ทีมก้าวเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศด้วยผลรวมสองนัด 3–2.[9]

เซาแทมป์ตัน แก้

รอบ คู่แข่งขัน ผล
3 คริสตัลพาเลซ (H) 2–0
4 ซันเดอร์แลนด์ (H) 1–0
5 อาร์เซนอล (A) 0–2
รอบรองชนะเลิศ ลิเวอร์พูล (H) 1–0
ลิเวอร์พูล (A) 0–1
สัญลักษณ์: (H) = สนามเหย้า; (A) = สนามเยือน.

เซาแทมป์ตัน, ในฐานะทีมจาก พรีเมียร์ลีก ที่เกี่ยวข้องกับ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17, เริ่มต้นการแข่งขันในรอบที่สาม. พวกเขาได้ถูกจับสลากพบกับทีมจากพรีเมียร์ลีก คริสตัล พาเลซ ที่บ้านของเซาแทมป์ตัน. ที่ เซนต์แมรีส์สเตเดียม, พวกเขาชนะ 2–0 จากการทำประตูของ ชาร์ลี ออสติน และ เจค เฮสเค็ธ.[10] ในรอบต่อไปพวกเขาได้ถูกจับสลากพบกับทีมจากพรีเมียร์ลีก ซันเดอร์แลนด์ ที่บ้านของเซาแทมป์ตัน. ที่เซนต์แมรีส์สเตเดียม, พวกเขาชนะ 1–0 เนื่องจากประตูของ ซอฟียาน บูฟัล.[11] ในรอบก่อนรองชนะเลิศพวกเขาได้ถูกจับสลากโดยออกไปเยือนทีมจากพรีเมียร์ลีก อาร์เซนอล. ที่สนาม เอมิเรตส์สเตเดียม, เซาแทมป์ตันชนะด้วยประตูจาก ยอร์ดี กลาซี และ ไรอัน เบอร์ทรันด์.[12] ในรอบรองชนะเลิศทั้งสองนัด, เซาแทมป์ตันถูกจับสลากพบเจอกับเพื่อนร่วมทีมจากพรีเมียร์ลีก ลิเวอร์พูล. เซาแทมป์ตัน ชนะนัดแรก 1–0 เนื่องมาจากประตูโดย นาทาน เรดมอนด์[13] และชนะ 1–0 นัดเยือนที่สนาม แอนฟีลด์ จากประตูของ เชน ลอง ทำให้รวมผลสองนัดผ่านเข้าสู่นัดชิงชนะเลิศ 2-0.[14] เซาแทมป์ตันอาจจะเป็นทีมแรกที่ได้หานัดชิงชนะเลิศลีกคัพโดยปราศจากการไม่เสียประตูเลย.[15]

นัด แก้

รายละเอียด แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด[16]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เซาแทมป์ตัน[17]
GK 1   ดาบิด เด เคอา
RB 25   อันโตเนียว บาเลนเซีย
CB 3   เอริก บายี
CB 12   คริส สมอลลิง (c)
LB 5   มาร์โกส โรโค
CM 21   อันเดร์ เอร์เรรา   24'
CM 6   ปอล ปอกบา
RW 14   เจสซี ลินการ์ด   41'   77'
AM 8   ควน มาตา   46'
LW 11   อ็องตอนี มาร์ซียาล   90'
CF 9   ซลาตัน อีบราฮีมอวิช
ตัวสำรอง:
GK 20   เซร์คีโอ โรเมโร
DF 17   เดลีย์ บลินด์
MF 16   ไมเคิล แคร์ริก   46'
MF 18   แอชลีย์ ยัง
MF 27   มารวน แฟลายนี   90'
FW 10   เวย์น รูนีย์
FW 19   มาร์คัส แรชฟอร์ด   77'
ผู้จัดการทีม:
  โชเซ มูรีนโย
 
GK 1   เฟรเซอร์ ฟอร์สเตอร์
RB 2   แซดริก โซอารึช
CB 3   มะยะ โยะชิดะ
CB 24   แจ็ก สตีเฟนส์   40'
LB 21   ไรอัน เบอร์ทรันด์
CM 14   อูรีออล รูเมว   18'
CM 8   สตีเวน เดวิส (c)   90'
RW 16   เจมส์ วาร์ด-พราวส์
AM 11   ดูชัน ทาดิช   77'
LW 22   แนทัน เรดมอนด์   56'
CF 20   มาโนโล กับบีอาดีนี   83'
ตัวสำรอง:
GK 40   มูเอซ ฮัสเซ็น
DF 12   มาร์ติน กาเซเรส
DF 38   แซม แม็กควีน
MF 19   ซอฟียาน บูฟัล   77'
MF 23   ปีแยร์-เอมีล เฮยบีแยร์
FW 7   เชน ลอง   83'
FW 9   เจย์ รอดรีเกซ   90'
ผู้จัดการทีม:
  โกลด ปูแอล

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด

คณะผู้ตัดสิน

กติกา

  • แข่งขัน 90 นาที.
  • ถ้าเสมอกันต้องต่อเวลาพิเศษ 30 นาที.
  • ดวลจุดโทษตัดสินหาผู้ชนะถ้าเสมอกันใน 120 นาที.
  • มีชื่อเปลี่ยนตัวสำรองได้ถึง 7 คน, แต่ใช้เปลี่ยนตัวลงสนามได้เพียงแค่สามคน.

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "Appointments: Andre Marriner to referee EFL Cup Final". English Football League. 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2017. สืบค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2017. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  2. "Key Dates". English Football League. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-16. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. Press Association (12 พฤศจิกายน ค.ศ. 2015). "Goodbye Football League, hello English Football League: rebranding announced". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  4. Smith, Peter. "Champions League and Europa League qualification for Premier League teams explained". Sky Sports. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. McNulty, Phil (21 กันยายน ค.ศ. 2016). "Northampton Town 1-3 Manchester United". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  6. Reddy, Luke (27 ตุลาคม ค.ศ. 2016). "Manchester United 1-0 Manchester City". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  7. Jurejko, Jonathan (30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016). "Manchester United 4-1 West Ham United". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  8. Rose, Gary (10 มกราคม ค.ศ. 2017). "Manchester United 2–0 Hull City". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  9. Reddy, Luke (26 มกราคม ค.ศ. 2017). "Hull City 2-1 Manchester United (Agg: 2-3)". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  10. "Southampton 2–0 Crystal Palace". BBC Sport. 21 กันยายน ค.ศ. 2016. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  11. "Southampton 1-0 Sunderland". BBC Sport. 26 ตุลาคม ค.ศ. 2016. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  12. "Arsenal 0-2 Southampton". BBC Sport. 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  13. McNulty, Phil (11 มกราคม ค.ศ. 2017). "Southampton 1-0 Liverpool". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  14. "EFL Cup semi-final: Liverpool v Southampton - Live". BBC Sport. 25 มกราคม ค.ศ. 2017. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  15. "Liverpool v Southampton: EFL Cup semi-final second leg – live!". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  16. Thompson, Gemma (26 มกราคม ค.ศ. 2017). "Reds are heading to Wembley". Manchester United F.C. สืบค้นเมื่อ 31 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  17. "Saints to wear white kit at Wembley". Southampton F.C. 31 มกราคม ค.ศ. 2017. สืบค้นเมื่อ 31 มกราคม ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)