ชุดตัวอักษรเบงกอล

(เปลี่ยนทางจาก อักษรเบงกาลี)

ชุดตัวอักษรเบงกอล ใช้เขียนภาษาเบงกอลและภาษาอัสสัม พัฒนามาจากอักษรพราหมีและจัดว่าใกล้เคียงกับอักษรเทวนาครี ปรากฏในคริสต์ศตวรรษที่ 11 รูปแบบที่ใช้ในการพิมพ์ เริ่มใช้ในพ.ศ. 2321 เมื่อชาร์ล วิลกินส์ คิดค้นระบบการพิมพ์ด้วยอักษรเบงกอล มีการปรับปรุงเล็กน้อยในคริสต์ศตวรรษที่ 19

อักษรเบงกอล
ชนิดอักษรสระประกอบ
ภาษาพูดภาษาเบงกอล
ช่วงยุคคริสต์ศตวรรษที่ 11–ปัจจุบัน[1]
ระบบแม่
ISO 15924Beng
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด
บทความนี้มีอักษรในตระกูลอักษรพราหมีปรากฏอยู่ คุณอาจเห็นสัญลักษณ์อื่นแทนตัวอักษร หรือมองเห็นสระวางผิดตำแหน่ง หากคอมพิวเตอร์ของคุณไม่สามารถแสดงผลได้อย่างถูกต้อง

พยัญชนะ แก้

อักษรเบงกอล ถอดเป็นอักษรโรมัน ถอดเป็นอักษรไทยตามรูป ถอดเป็นอักษรไทยตามเสียง
ka /ก/
kha /ค/
ga /ก/(ก้องในคอ)
gha /ค/(ก้องในคอ)
nga /ง/
ca /จ/
cha /ช/
ja /จ/(ก้องในคอ)
jha /ช/(ก้องในคอ)
nya /ญ/
tta /ต/
ttha /ท/
dda /ด/ (ก้องในคอ)
ddha /ด/ (ก้องในคอ)
nna /น/
ta /ต/
tha /ท/
da /ด/ (ก้องในคอ)
dha /ด/ (ก้องในคอ)
na /น/
pa /ป/
fa /พ~ฟ/
ba /บ/ (ก้องในคอ)
bha /บ/ (ก้องในคอ)
ma /ม/
ya /จ~ซ/
র/ৰ ra /ร/
la /ล/
wa /ว/
sha /ซ/ (ก้องในคอ)
ssa /ซ/
sa /ซ/
ha /ฮ/
ড় ṛa คล้าย ร (ม้วนลิ้น)
ঢ় ṛha - คล้าย ร (ม้วนลิ้นและก้อง)
য় ya - /ย/

สระ แก้

สระลอย สระจมเกาะตัว ক ถอดเป็นอักษรโรมัน ถอดเป็นอักษรไทย
a อะ
কা aa อา
কি i อิ
কী ii อี
কু u อุ
কূ uu อู
কে e เอ
কৈ ai ไอ
কো o โอ
কৌ au เอา
কৃ vocalic r
কৢ vocalic l
কৄ vocalic rr ฤๅ
কৣ vocalic ll ฦๅ

ตัวเลข แก้

= 0, = 1, = 2, = 3, = 4, = 5, = 6, = 7, = 8, = 9

เครื่องหมายพิเศษ แก้

= เครื่องหมายรูปีเบงกอล

อักษรเบงกอลในคอมพิวเตอร์ แก้

สำหรับผู้ใช้วินโดวส์เอ็กซ์พี (Window XP) สามารถอ่านอักษรเบงกอลหรือพิมพ์ข้อความสั้น ๆ ด้วยโปรแกรม Character Map ฟอนต์ Vrinda

เบงกอล
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+098x        
U+099x    
U+09Ax  
U+09Bx             ি
U+09Cx          
U+09Dx                        
U+09Ex    
U+09Fx        

อ้างอิง แก้