อักษรลิมบู (Limbu) หรือ กิรัต หรือ สิริชังฆา (सिरीजङ्घा) อาจเป็นต้นแบบของอักษรเลปชาโดยผ่านทางอักษรทิเบตอีกต่อหนึ่ง กษัตริย์สิริชังฆาประดิษฐ์อักษรสิริชังฆา เมื่อราวพ.ศ. 1500 อักษรนี้หายไปเป็นเวลานานจนได้รับการฟื้นฟูโดยเต-องสิ สิริชังฆา ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นการกลับชาติมาเกิดใหม่ของกษัตริย์สิริชังฆา เมื่อราว พ.ศ. 2200 ต่อมา พ.ศ. 2468 อิมัน สิงห์ เช็มโจง นักวิชาการเกี่ยวกับลิมบูตั้งชื่ออักษรนี้หลังจากสิริชังฆาตายไป

อักษรลิมบู
ชนิดอักษรสระประกอบ
ภาษาพูดลิมบู
ช่วงยุคค.ศ. 1740-ปัจจุบัน
ระบบแม่
ช่วงยูนิโคดU+1900-U+194F
ISO 15924Limb
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

ใช้เขียน แก้

  • ภาษาลิมบู (ยักทุงบา ปัน หรือ ยักทุงปัน) ซึ่งเป็นภาษากลุ่มทิเบต-พม่า มีผู้พูด 280,626 คนในเนปาลตะวันออก ภูฎาน และภาคเหนือของอินเดีย ลิมบูแปลว่าผู้ยิงธนู

ยูนิโคด แก้

ลิมบู
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+190x
U+191x      
U+192x        
U+193x        
U+194x      


อ้างอิง แก้