หัวใจหยุดเต้น (อังกฤษ: cardiac arrest) คือภาวะซึ่งหัวใจไม่มีการบีบตัว ทำงานผิดปกติ หรือทำงานช้าลง ทำให้ไม่มีการไหลเวียนเลือด ทำให้ไม่มีการลำเลียงออกซิเจนไปเลี้ยงร่างกายส่วนต่างๆ เกิดอาการของการทำงานผิดปกติที่อวัยวะต่างๆ ที่เห็นได้อย่างหนึ่งคือการทำงานของสมอง ซึ่งเมื่อไม่มีเลือดเลี้ยงทำให้หมดสติ หากหัวใจหยุดเต้นนานกว่า 5 นาที มีโอกาสเกิดความเสียหายต่อเนื้อสมองได้มาก การช่วยเหลือในทันทีจึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยรอดชีวิตและมีการฟื้นตัวของสมองที่ดี[11]

Cardiac arrest
ชื่ออื่นCardiopulmonary arrest, circulatory arrest, sudden cardiac arrest (SCA), sudden cardiac death (SCD)[1]
CPR being administered during a simulation of cardiac arrest.
สาขาวิชาCardiology, emergency medicine
อาการLoss of consciousness, abnormal or no breathing[1][2]
การตั้งต้นOlder age[3]
สาเหตุCoronary artery disease, congenital heart defect, major blood loss, lack of oxygen, very low potassium, heart failure[4]
วิธีวินิจฉัยFinding no pulse[1]
การป้องกันNot smoking, physical activity, maintaining a healthy weight, healthy eating[5]
การรักษาCardiopulmonary resuscitation (CPR), defibrillation[6]
พยากรณ์โรคSurvival rate ~ 10% (outside of hospital) 25% (in hospital)[7][8]
ความชุก13 per 10,000 people per year (outside hospital in the US)[9]
การเสียชีวิต> 425,000 per year (U.S.)[10]

หัวใจหยุดเต้นเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ บางครั้งหากได้รับการรักษาทันท่วงทีอาจทำให้หัวใจกลับมาเต้นใหม่ได้ หากมีหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันโดยไม่คาดฝันจนเสียชีวิตใช้ศัพท์ว่า sudden cardiac death วิธีสำคัญในการรักษาภาวะหัวใจหยุดเต้นคือการช่วยกู้ชีพ (CPR) เพื่อสร้างการไหลเวียนของเลือดให้มีเลือดไปเลี้ยงร่างกาย พิจารณาสัญญาณไฟฟ้าหัวใจว่าเป็นชนิดที่สามารถช็อกไฟฟ้าเพื่อช่วยเหลือได้หรือไม่และให้การรักษาตามความเหมาะสม[12]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Fie2009
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2016Sign
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2016Risk
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2016Ca
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2016Pre
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2016Tx
  7. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Adam2012
  8. Andersen, LW; Holmberg, MJ; Berg, KM; Donnino, MW; Granfeldt, A (26 March 2019). "In-Hospital Cardiac Arrest: A Review". JAMA. 321 (12): 1200–1210. doi:10.1001/jama.2019.1696. PMC 6482460. PMID 30912843.
  9. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ AHA2015Part4
  10. Meaney, PA; Bobrow, BJ; Mancini, ME; Christenson, J; de Caen, AR; Bhanji, F; Abella, BS; Kleinman, ME; Edelson, DP; Berg, RA; Aufderheide, TP; Menon, V; Leary, M; CPR Quality Summit Investigators, the American Heart Association Emergency Cardiovascular Care Committee, and the Council on Cardiopulmonary, Critical Care, Perioperative and, Resuscitation. (23 July 2013). "Cardiopulmonary resuscitation quality: [corrected] improving cardiac resuscitation outcomes both inside and outside the hospital: a consensus statement from the American Heart Association". Circulation. 128 (4): 417–35. doi:10.1161/CIR.0b013e31829d8654. PMID 23801105.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  11. "การช่วยฟื้นคืนชีพ ( Cardiopulmonary resuscitation )" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-08-28. สืบค้นเมื่อ 2012-05-11.
  12. การจัดการภาวะหัวใจหยุดเต้น