สีประจำชาติ เป็นส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์ประจำชาติ หลายรัฐ และ หลายประเทศ ได้นำสีประจำชาติมาใช้อย่างเป็นทางการ (นิตินัย) "สีประจำชาติ" ในขณะที่หลายประเทศได้นำสีสีประจำชาติมาใช้โดยพฤตินัย สีประจำชาติมักจะปรากฏสื่อ , ธงของประเทศ สีที่ใช้ในการเล่นกีฬา เป็นต้น

รายการ แก้

ประเทศ ธง สีหลัก สีรอง ข้อมูลเพิ่มเติม
ประเทศอาร์เจนตินา   สีฟ้าอ่อน และ สีขาว[1]


ประเทศแอลเบเนีย   สีแดง และ สีดำ
ประเทศอาร์มีเนีย   สีแดง และ สีฟ้า
ประเทศออสเตรเลีย   สีเขียว และ สีทอง[2] สีแดง, สีขาว และ สีฟ้า
ประเทศบังกลาเทศ   สีเขียว และ สีแดง สีเขียว และ สีแดง 
ประเทศเบลเยียม   สีแดง สีดำ และ สีเหลือง
ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา   สีฟ้า, สีทอง และ สีขาว
ประเทศบราซิล   สีเขียว และ สีเหลือง สีฟ้า และ สีขาว
ประเทศแคนาดา   สีแดง และ สีขาว[3] สีดำ
ประเทศชิลี   สีแดง, สีขาว และ สีฟ้า
สาธารณรัฐเช็ก   สีขาว, สีแดง, และ สีฟ้า[4][5][6][7]
ประเทศฟินแลนด์   สีขาว และ สีฟ้า สีม่วง และ สีแดง
ประเทศฝรั่งเศส   สีฟ้า, สีขาว, และสีแดง[8]
ประเทศเยอรมนี   สีดำ, สีแดง และ สีทอง สีดำ และ สีขาว
ประเทศกานา   สีแดง, สีทอง, สีเขียว และ สีดำ สีขาว และ สีดำ
ประเทศกรีซ   สีฟ้า และ สีขาว
ประเทศเฮติ   สีแดง และ สีฟ้า[9]
ประเทศฮังการี   สีแดง, สีขาว และ สีเขียว
เกาะไอร์แลนด์   สีเขียว สีขาว และ สีส้ม
ประเทศอิสราเอล   สีฟ้า และ สีขาว[10] สีประจำชาติอิสราเอล
ประเทศอิตาลี   สีเขียว, สีขาว และ สีแดง[11] สีกรมท่า สีประจำชาติอิตาลี
ประเทศจาเมกา   สีเขียว, สีทอง และ สีดำ
ประเทศลิทัวเนีย   สีเขียว และ สีขาว
ประเทศมาเลเซีย   สีทอง และ สีดำ สีแดง, สีขาว, สีเหลือง และ สีฟ้า
ประเทศเม็กซิโก   สีเขียว, สีขาว, และ สีแดง
ประเทศเนเธอร์แลนด์   สีส้ม สีแดง, สีขาว และ สีฟ้า
ประเทศนิวซีแลนด์   สีดำ[12] สีขาว, สีเงิน, สีแดงเหลือง
ประเทศปากีสถาน   สีเขียวและสีขาว
ประเทศรัสเซีย   สีขาว, สีฟ้า และ สีแดง
ประเทศเซอร์เบีย   สีแดง, สีฟ้า และ สีขาว[13][14][15]
ประเทศยูเครน   สีฟ้า และ สีเหลือง สีประจำชาติยูเครน
สหราชอาณาจักร   สีแดง, สีขาว และ สีฟ้า 
สีประจำชาติสหราชอาณาจักร
สหรัฐอเมริกา   สีแดง, สีขาว และ สีฟ้า 
ประเทศอุรุกวัย   สีฟ้า และ สีขาว สีแดง; สีฟ้าอ่อน ใช้ในการเล่นกีฬา 

อ้างอิง แก้

  1. "Símbolos nacionales". Government of Argentina. สืบค้นเมื่อ 2014-08-25.
  2. "Our national symbols". Government of Australia. 1 November 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2013-03-17.
  3. "National Colours - Red and White". Government of Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2013-10-26.
  4. http://www.hrad.cz/cs/ceska-republika/statni-symboly.shtml
  5. cs:Státní barvy České republiky
  6. http://vlast.cz/symboly-ceske-republiky/
  7. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-02. สืบค้นเมื่อ 2015-10-10.
  8. "Le drapeau tricolor" [The Tricolor Flag] (in French). 2002-06-20.
  9. "CIA World Factbook: National Symbols". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-08. สืบค้นเมื่อ 2015-10-10.
  10. "Israel National Symbols: The Israeli Flag". Jewish Virtual Library. สืบค้นเมื่อ 11 June 2014.
  11. Ferorelli, Nicola (1925). La vera origine del tricolore italiano. Rassegna storica del Risorgimento. Vol. 12.
  12. "Design of The New Zealand Orders Insignia".
  13. The Journal of the Orders & Medals Research Society of Great Britain. Orders and Medals Research Society. 1969. p. 207).
  14. Chronicles. Rockford Institute. 1994. p. 39.
  15. Nigel Thomas; Krunoslav Mikulan (2006). The Yugoslav Wars (2): Bosnia, Kosovo and Macedonia 1992 - 2001. Osprey Publishing. p. 58. ISBN 978-1-84176-964-6.[ลิงก์เสีย]