สวามี วิเวกานันท์

พระภิกษุศาสนาฮินดูและปราชญ์ชาวอินเดีย
(เปลี่ยนทางจาก สวามีวิเวกานันทะ)

สวามี วิเวกานันท์[4] (Swami Vivekananda; แม่แบบ:IPA-bn; 12 มกราคม 1863 – 4 กรกฎาคม 1902) ชื่อเมื่อเกิด นเรนทรนาถ ทัตตา (Narendranath Datta; แม่แบบ:IPA-bn) เป็นสงฆ์ฮินดูและผู้นำสาวกของฤๅษีอินเดียเมื่อศตวรรษที่ 19 รามกฤษณะ[5][6] เขาเป็นบุคคลสำคัญที่ได้แนะนำปรัชญาอินเดีย เวทันต์ และ โยคะ สู่โลกตะวันตก[7][8] และได้รับการยกย่องในฐานะผู้เชิดชูการรับรู้พหุความเชื่อ (interfaith awareness), นำพาให้ศาสนาฮินดูมาสู่สถานะของการเป็นศาสนาหลักของโลกในช่วงปลายศตวรรษที่ 19[9] เขาเป็นแรงผลักดันสำคัญในการปฏิรูปศาสนาฮินดูในประเทศอินเดีย และมีส่วนร่วมในแนวคิดชาตินิยมอินเดียในฐานะเครื่องมือเพื่อต่อสู้กับจักรวรรดิอังกฤษในสมัยอาณานิคม[10] วิเวกานันท์ได้ก่อตั้งรามกฤษณะมาถ และมิชชั่นรามกฤษณะ[8]

สวามี วิเวกานันท์
วิเวกานันท์ที่ชิคาโก เมื่อกันยายน 1893[1]
ส่วนบุคคล
เกิด
นเรนทรนาถ ทัตตา (Narendranath Datta)

12 มกราคม ค.ศ. 1863(1863-01-12)
มรณภาพ4 กรกฎาคม ค.ศ. 1902(1902-07-04) (39 ปี)
ศาสนาศาสนาฮินดู
ความเป็นพลเมืองบริติชราช
สำนักศึกษามหาวิทยาลัยกัลกัตตา (B.A.)
ลายมือชื่อ
ก่อตั้งมิชชั่นรามกฤษณะ (1897)
Ramakrishna Math
ปรัชญาเวทันต์ใหม่[2][3]
Rāja yoga[3]
ตำแหน่งชั้นสูง
ครูรามกฤษณะ
งานเขียนราชโยคะ, กรรมโยคะ, ภักติโยคะ, ญาณโยคะ, มายมาสเตอร์, เลคเชอส์ฟรอมโคลัมโบทูอัลโมรา

วันเกิดของเขาได้รับการเฉลิมฉลองเป็นวันเยาวชนแห่งชาติของประเทศอินเดีย

อ้างอิง แก้

  1. "World fair 1893 circulated photo". vivekananda.net. สืบค้นเมื่อ 11 April 2012.
  2. "Bhajanānanda (2010), Four Basic Principles of Advaita Vedanta, p.3" (PDF). สืบค้นเมื่อ 28 December 2019.
  3. 3.0 3.1 De Michelis 2005.
  4. ทับศัพท์ภาษาไทยอิงตามชื่อของ ศูนย์วัฒนธรรมสวามี วิเวกานันท์ เก็บถาวร 2020-08-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน กรุงเทพมหานคร
  5. "Swami Vivekananda: A short biography". www.oneindia.com. สืบค้นเมื่อ 3 May 2017.
  6. "Life History & Teachings of Swami Vivekanand". สืบค้นเมื่อ 3 May 2017.
  7. "International Yoga Day: How Swami Vivekananda helped popularise the ancient Indian regimen in the West". 21 June 2017.
  8. 8.0 8.1 Feuerstein 2002, p. 600.
  9. Clarke 2006, p. 209.
  10. Von Dense 1999, p. 191.