วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์แอฟริกา

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์แอฟริกา (อังกฤษ: African Women's Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงในระดับทวีปแอฟริกา การแข่งขันนี้อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา (ซีเอวีบี) จัดขึ้นหมุนเวียนสลับกันไปทุก ๆ 2 ปี โดยครั้งแรกจัดขึ้นในปี ค.ศ. 1976 ทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ์ไปแข่งขันรายการระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์แอฟริกา
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์แอฟริกา 2023
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งค.ศ. 1976
จำนวนทีม12 ทีม (รอบสุดท้าย)
ทวีปซีเอวีบี (แอฟริกา)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติเคนยา เคนยา (12 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติเคนยา เคนยา (12 สมัย)

สรุปผลการแข่งขัน แก้

ปี ค.ศ. เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
1976
รายละเอียด
 
ไคโร
 
อียิปต์
พบกันหมด  
ตูนิเซีย
 
โมร็อกโก
พบกันหมด  
แอลจีเรีย
6
1985
รายละเอียด
 
ตูนิส
 
ตูนิเซีย
พบกันหมด  
อียิปต์
 
แคเมอรูน
พบกันหมด 4
1987
รายละเอียด
 
ราบัต
 
ตูนิเซีย
3–2  
โมร็อกโก
 
อียิปต์
พบกันหมด  
แคเมอรูน
5
1989
รายละเอียด
 
พอร์ต ลูอิส
 
อียิปต์
3–0  
มอริเชียส
 
แอลจีเรีย
3–1 4
1991
รายละเอียด
 
ไคโร
 
เคนยา
 
อียิปต์
 
แคเมอรูน
 
กานา
8
1993
รายละเอียด
 
ลากอส
 
เคนยา
3–0  
อียิปต์
 
ไนจีเรีย
 
แคเมอรูน
10
1995
รายละเอียด
 
ตูนิส
 
เคนยา
 
ไนจีเรีย
 
ตูนิเซีย
 
แองโกลา
6
1997
รายละเอียด
 
ลากอส
 
เคนยา
 
ไนจีเรีย
 
แองโกลา
 
แอฟริกาใต้
5
1999
รายละเอียด
 
ลากอส
 
ตูนิเซีย
พบกันหมด  
แคเมอรูน
 
ไนจีเรีย
พบกันหมด  
กินี
4
2001
รายละเอียด
 
พอร์ต ฮาร์คอร์ต
 
เซเชลส์
3–0  
ไนจีเรีย
 
แคเมอรูน
พบกันหมด  
แอฟริกาใต้
4
2003
รายละเอียด
 
ไนโรบี
 
อียิปต์
3–1  
เคนยา
 
แคเมอรูน
3–1  
แอลจีเรีย
8
2005
รายละเอียด
 
อาบูจา
 
เคนยา
3–1  
ไนจีเรีย
 
อียิปต์
3–2  
ตูนิเซีย
8
2007
รายละเอียด
 
ไนโรบี
 
เคนยา
3–0  
แอลจีเรีย
 
ตูนิเซีย
3–1  
อียิปต์
10
2009
รายละเอียด
 
บลีดา
 
แอลจีเรีย
3–0  
ตูนิเซีย
 
แคเมอรูน
3–0  
เซเนกัล
6
2011
รายละเอียด
 
ไนโรบี
 
เคนยา
3–1  
แอลจีเรีย
 
อียิปต์
3–2  
เซเนกัล
9
2013
รายละเอียด
 
ไนโรบี
 
เคนยา
พบกันหมด  
แคเมอรูน
 
ตูนิเซีย
พบกันหมด  
เซเนกัล
6
2015
รายละเอียด
 
ไนโรบี
 
เคนยา
3–0  
แอลจีเรีย
 
แคเมอรูน
3–2  
เซเนกัล
8
2017
รายละเอียด
 
ยาอุนเด
 
แคเมอรูน
3–0  
เคนยา
 
อียิปต์
3–0  
เซเนกัล
9
2019
รายละเอียด
 
ไคโร
 
แคเมอรูน
3–2  
เคนยา
 
เซเนกัล
3–1  
อียิปต์
7
2021
รายละเอียด
 
คิกาลี
 
แคเมอรูน
3–1  
เคนยา
 
โมร็อกโก
3–0  
ไนจีเรีย
9
2023
รายละเอียด
 
ยาอุนเด
 
เคนยา
3–0  
อียิปต์
 
แคเมอรูน
3–1  
รวันดา
12

สรุปเหรียญรางวัล แก้

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  เคนยา104014
2  อียิปต์34411
3  แคเมอรูน32712
4  ตูนิเซีย3238
5  แอลจีเรีย1304
6  เซเชลส์1001
7  ไนจีเรีย0426
8  โมร็อกโก0123
9  มอริเชียส0101
10  มาดากัสการ์0011
  เซเนกัล0011
  แองโกลา0011
รวม (12 ประเทศ)21212163

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน แก้

ประเทศ  
1976
 
1985
 
1987
 
1989
 
1991
 
1993
 
1995
 
1997
 
1999
 
2001
 
2003
 
2005
 
2007
 
2009
 
2011
 
2013
 
2015
 
2017
 
2019
 
2021
 
2023
จำนวนครั้ง
  แอลจีเรีย 4th 4th 4th 2nd 1st 2nd 6th 2nd 6th 5th 5th 11
  แองโกลา 4th 3rd 2
  บอตสวานา 10th 7th 7th 5th 7th 8th 8th 7th 8
  บูร์กินาฟาโซ 10th 1
  บุรุนดี 8th 11th 2
  แคเมอรูน 3rd 4th 3rd 4th 2nd 3rd 3rd 5th 6th 3rd 5th 2nd 3rd 1st 1st 1st 3rd 17
  สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 6th 7th 9th 6th 4
  โกตดิวัวร์ 8th 1
  อียิปต์ 1st 2nd 3rd 1st 2nd 2nd 1st 3rd 4th 3rd 5th 3rd 4th 2nd 14
  เอธิโอเปีย 8th 5th 2
  กานา 4th 9th 2
  กินี 6th 4th 2
  เคนยา 4th 1st 1st 1st 1st 2nd 1st 1st 1st 1st 1st 2nd 2nd 2nd 1st 15
  เลโซโท 12th 1
  มาดากัสการ์ 3rd 7th 2
  มาลี 9th 1
  มอริเชียส 2nd 7th 5th 7th 4
  โมร็อกโก 3rd 2nd 6th 6th 6th 6th 3rd 7th 8
  โมซัมบิก 5th 1
  ไนจีเรีย 3rd 2nd 2nd 3rd 2nd 2nd 8th 7th 4th 6th 10
  รวันดา 10th 9th DQ 4th 4
  เซเนกัล 8th 5th 4th 4th 4th 4th 4th 3rd 7th 9
  เซเชลส์ 1st 6th 2
  แอฟริกาใต้ 8th 4th 4th 8th 4
  ซูดาน 5th 1
  ยูกันดา 9th 8th 2
  ตูนิเซีย 2nd 1st 1st 5th 6th 3rd 1st 5th 4th 3rd 2nd 6th 3rd 5th 5th 5th 16
  แซมเบีย 6th 1
รวม 6 4 4 4 8 10 6 5 4 4 8 8 10 6 9 6 8 9 7 9 12

แหล่งข้อมูลอื่น แก้