ระบบขนส่งทางรางขนาดกลาง

ในการขนส่งระบบราง คำว่า ระบบขนส่งทางรางขนาดกลาง (MCS) เป็นศัพท์ไม่สากล ที่ใช้แยกความแตกต่าง โดยใช้เป็นตัวกลางระหว่างรถไฟฟ้าใต้ดินและรถไฟฟ้ารางเบา โดยมีลักษณะคล้าย ไลต์เมโทร ที่พบในประเทศแถบยุโรป

รถไฟฟ้าบีทีเอส ใช้รถไฟฟ้าขนาดกลาง

ตัวอย่าง แก้

สถานที่ ประเทศ ระบบ จำนวนเส้นทาง ปีที่เปิดให้บริการ
(ค.ศ.)
ภาพ
ออตตาวา   แคนาดา โอ-เตรน 1 2001  
โทรอนโต   แคนาดา รถไฟใต้ดินและรถไฟความเร็วสูงโทรอนโต: สายสการ์โบโร อาร์ที 1 2003  
ฮ่องกง   ฮ่องกง เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า): สายมาออนชาน 1 2004  
เซี่ยงไฮ้   จีน รถไฟใต้ดินเซี่ยงไฮ้: สาย 5 และสาย 6 2 2003, 2007  
อู่ฮั่น   จีน รถไฟใต้ดินอู่ฮั่น: สาย 1 1 2004  
โคเปนเฮเกน   เดนมาร์ก รถไฟใต้ดินโคเปนเฮเกน 2 2002  
เบรชชา   อิตาลี รถไฟใต้ดินเบรชชา 1 2013  
กาตาเนีย   อิตาลี กาตาเนียเมโทร 1 1999  
มิลาน   อิตาลี รถไฟใต้ดินมิลาน: สาย 5 1 2013  
เนเปิลส์   อิตาลี รถไฟใต้ดินเนเปิลส์ 1 1993  
กัวลาลัมเปอร์   มาเลเซีย สายเกอลานาจายา 1 1998  
มะนิลา   ฟิลิปปินส์ มะนิลาไลต์เรล
มะนิลาเมโทร
1, 1 1984, 1999  
มอสโก   รัสเซีย รถไฟใต้ดินมอสโก: สาย 12 – สายบูตอฟสกายา 1 2003  
สิงคโปร์   สิงคโปร์ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสิงคโปร์: รถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายวงกลม 1 2009  
ปูซาน   เกาหลีใต้ รถไฟรางเบา ปูซาน-คิมแฮ,
รถไฟใต้ดินปูซาน สาย 4
1, 1 2011, 2011  
โซล   เกาหลีใต้ สายยู 1 2012  
บาร์เซโลนา   สเปน รถไฟใต้ดินบาร์เซโลนา: สาย 11 1 2003  
ไทเป   ไต้หวัน รถไฟใต้ดินไทเป: สายสีน้ำตาล 2 1996  
กรุงเทพมหานคร   ไทย รถไฟฟ้าบีทีเอส 2 1999  
อังการา   ตุรกี รถไฟใต้ดินอังการา 1 1996  
อิสตันบูล   ตุรกี รถไฟฟ้ารางเบาอิสตันบูล 2 1989  
กลาสโกว์   บริเตนใหญ่ รถไฟใต้ดินกลาสโกว์ 1 1896  
ลอนดอน   บริเตนใหญ่ รถไฟเบาสายดอคแลนดส์ 7 1987  
ฟิลาเดลเฟีย   สหรัฐ การคมนาคมรัฐเพนซิลเวเนียตะวันออกเฉียงใต้: สายความเร็วสูงนอริสทาวน์ 1 1907  

ในอดีต แก้

 
รถไฟใต้ดินกว่างโจว สาย 3

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้