รถไฟใต้ดินกว่างโจว

รถไฟใต้ดินกว่างโจว (จีนตัวย่อ: 广州地铁; จีนตัวเต็ม: 廣州地鐵; พินอิน: Guǎngzhōu Dìtiě; ยฺหวิดเพ็ง: Gwong2 zau1 dei6 tit3) เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินในเมืองกว่างโจว ประเทศจีน ดำเนินการโดย Guangzhou Metro Corporation และเป็นเส้นทางรถไฟฟ้าแห่งที่สี่ของจีนแผ่นดินใหญ่ ต่อเนื่องจาก รถไฟใต้ดินปักกิ่ง รถไฟใต้ดินเทียนจิน และ เซี่ยงไฮ้เมโทร

รถไฟใต้ดินกว่างโจว
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของเทศบาลนครกว่างโจว
ที่ตั้งกว่างโจว
ประเภทรถไฟใต้ดิน
จำนวนสาย9
จำนวนสถานี164[1]
ผู้โดยสารต่อวัน5.6 ล้านคน (กรกฎาคม 2012)[2]
7.844 ล้านคน (5 พฤศจิกายน ค.ศ. 2010)[3]
ผู้โดยสารต่อปี1.85 พันล้านคน (2012)[4][note 1]
เว็บไซต์www.gzmtr.com/en
การให้บริการ
เริ่มดำเนินงาน28 มิถุนายน ค.ศ. 1997
ผู้ดำเนินงานGuangzhou Metro Corporation
จำนวนขบวน1002 (2010)[5]
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง261 km (162 mi)
รางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in)
การจ่ายไฟฟ้ารางที่สาม, เหนือหัว
ผังเส้นทาง

ปัจจุบันประกอบไปด้วยเก้าเส้นทาง ให้บริการเวลา 6:00-24:00 น. จำนวนผู้โดยสารรายวัน 5.6 ล้านคน[2][6] รถไฟใต้ดินกว่างโจว เป็นรถไฟใต้ดินที่มีผู้โดยสารหนาแน่นเป็นอันดับที่ 6 ของโลก รองจาก โตเกียวเมโทร รถไฟใต้ดินโซล รถไฟใต้ดินมอสโก รถไฟใต้ดินปักกิ่ง และ เซี่ยงไฮ้เมโทร[7]

ปัจจุบันมีจำนวน 164 สถานี[1][note 2] ระยะทาง 261 กิโลเมตร[8]

เส้นทางที่ให้บริการในปัจจุบัน แก้

เส้นทาง สถานีปลายทาง เปิดให้บริการครั้งแรก เปิดให้บริการครั้งล่าสุด ระยะทาง
(กิโลเมตร)
จำนวนสถานี จำนวนรถไฟฟ้า
(2010)[9]
รถไฟใต้ดิน
  สาย 1 กว่างโจวตะวันออก ซีหล่าง 1997 1999 18.5 16 28
  สาย 2 เจียเหอวั่งกั่ง กว่างโจวใต้ 2002 2010 31.4 24 36
  สาย 3 แอร์พอร์ตเซาท์/เทียนเหอเค่ออวิ้น ถี่อวี้ซีลู่/จัตุรัสผานอวี้ 2005 2010 67.3 28 42
  สาย 4 หวงชฺวิน จินโจว 2005 2010 43.7 16 30
  สาย 5 เจี้ยวโข่ว เหวินชง 2009 31.9 24 30
  สาย 6 สวินเฟิงกั่ง เซียงเสวี่ย 2013 24.5 22
  สาย 8 เฟิ่งหวงซินชวิน ว่านเซิ่งเหวย 2003 2010 14.8 13 17
  สายกว่างฝู ซินเฉิงตง เยี่ยนกั่ง 2010 20.4 14 14
รถไฟรางเบา
  APM หลินเหอซี กว่างโจวถ่า 2010 3.9 9 6

เส้นทางในอนาคต แก้

เส้นทางรถไฟใต้ดินกว่างโจวในอนาคต
โครงการในอนาคต

การรับกระแสไฟฟ้า แก้

 
รถไฟฟ้าสาย 1 รับไฟฟ้าจากลวดเหนือหัว

รถไฟฟ้าทุกสายยกเว้นสายเอพีเอ็ม รับไฟฟ้า 1,500 โวลต์ รถไฟฟ้าสาย 1, 2, 3, 6, 8 และสายกว่างฟู รับไฟฟ้าจากลวดเหนือหัว ขณะที่สาย 4, 5 และ 6 รับไฟฟ้าจากรางที่สาม เส้นทางในอนาคต เช่น สาย 7, 9 และ 13 จะใช้ไฟฟ้า 1,500 โวลต์[10][11] ส่วนรถไฟฟ้าเอพีเอ็มใช้ไฟฟ้า 600 โวลต์จากรางที่สาม[10]

ดูเพิ่ม แก้

หมายเหตุ แก้

  1. Calculated from a daily ridership of 5.07 million.
  2. Interchange stations are counted once for each interchanging line by the convention adopted by Guangzhou Metro.

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 广州地铁18年赶上西方国家两百年历程 [Guangzhou Metro catches up with western countries' 200 years of development in 18 years] (ภาษาจีน). Guangzhou Metro Corporation. 29 December 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-18. สืบค้นเมื่อ 2011-01-04.
  2. 2.0 2.1 乘客四行为或累人伤己 [Four behaviours could endanger passengers] (ภาษาจีน). Guangzhou Daily. 20 July 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-22. สืบค้นเมื่อ 2012-07-20.
  3. 第二届地铁春联今起征集 [Second Metro Spring Duilian Contest starts today] (ภาษาจีน). Guangzhou Metro Daily. 10 January 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-17. สืบค้นเมื่อ 2010-01-23.
  4. '三好学生'的成绩单 (ภาษาจีน). Guangzhou Metro Corporation. 7 March 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-15. สืบค้นเมื่อ 2012-03-10.
  5. 为了缓解交通压力 地铁投53亿买新车增90列 [Metro spends ¥5.3b in purchase of 90 new trains to relieve traffic pressure] (ภาษาจีน). Guangzhou Daily. 19 November 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-11-20. สืบค้นเมื่อ 2010-11-19.
  6. 首尾班车时刻表 [Schedules of first and last trains] (ภาษาจีน). Guangzhou Metro Corporation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-04-13. สืบค้นเมื่อ 2010-11-24.
  7. 交通六件事 事事有着落 [Six transportation matters settled] (ภาษาจีน). Guangzhou Daily. 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-01. สืบค้นเมื่อ 2014-01-20.
  8. 广州市轨道交通线网2011-2015年建设方案公示 [Publicity of 2011–2015 construction plan of urban rail transit network of Guangzhou] (ภาษาจีน). Urban Planning Bureau of Guangzhou. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-07. สืบค้นเมื่อ 2010-04-06.
  9. 广州地铁二〇一〇年度年报 [Guangzhou Metro Annual Report 2010] (ภาษาจีน). Guangzhou Metro Corporation. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-16. สืบค้นเมื่อ 2011-07-26.
  10. 10.0 10.1 Jin Shoujie; He Zhixin (2010). 广州市轨道交通接触网形式选择 [Selection of overhead catenary system for Guangzhou urban rail transit]. Urban Rapid Rail Transit (ภาษาจีน). 23 (1). doi:10.3969/j.issn.1672-6073.2010.01.003.
  11. 城际轨道直通穗莞深惠 广佛地铁设九座换乘站 [Intercity railways to connect Guangzhou, Dongguan, Shenzhen, Huizhou; Guangfo Metro to have nine interchange stations] (ภาษาจีน). Guangzhou Daily. 24 June 2008. สืบค้นเมื่อ 2010-10-29.

บรรณานุกรม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้