ยูเอสเอส จอร์จ วอชิงตัน (CVN-73)

ยูเอสเอส จอร์จ วอชิงตัน (CVN-73) (อังกฤษ: USS George Washington) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินพลังงานนิวเคลียร์ลำดับที่ 6 ในกลุ่มเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์ และเรือรบลำที่ 4 ของกองทัพเรือ ที่ตั้งชื่อตามประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐ จอร์จ วอชิงตัน เรือลำนี้เข้าประจำการเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 1992

ยูเอสเอส จอร์จ วอชิงตัน ในทะเลจีนตะวันออก เมื่อเดือนธันวาคม 2010
ประวัติ
สหรัฐอเมริกา
ชื่อ
ตั้งชื่อตามจอร์จ วอชิงตัน
Ordered27 ธันวาคม 1982
อู่เรือนิวพอร์ตนิวส์ชิปบิลดิง
ปล่อยเรือ25 สิงหาคม 1986
สนับสนุนโดยบาร์บารา บุช
Christened21 กรกฎาคม 1990
เข้าประจำการ4 กรกฎาคม 1992 (31 ปี)
ท่าจอดฐานทัพเรือนอร์ฟอล์ก
รหัสระบุ
คำขวัญ
  • Spirit of Freedom
  • (จิตวิญญาณแห่งอิสรภาพ)
ชื่อเล่นGW
สถานะอยู่ในประจำการ
หมายเหตุอยู่ระหว่างการทดสอบเดินทะเลในมหาสมุทรแอตแลนติก
สัญลักษณ์
ลักษณะเฉพาะ
ชั้น: นิมิตซ์
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 104,200 ลองตัน (116,700 ชอร์ตตัน)[1][2]
ความยาว:
  • ตลอดลำ: 1,092 ฟุต (332.8 เมตร)
  • แนวน้ำ: 1,040 ฟุต (317.0 เมตร)
ความกว้าง:
  • กว้างสุด: 252 ฟุต (76.8 เมตร)
  • แนวน้ำ: 134 ฟุต (40.8 เมตร)
  • กินน้ำลึก:
  • สูงสุดสำหรับเดินเรือ: 37 ฟุต (11.3 เมตร)
  • ขีดจำกัด: 41 ฟุต (12.5 เมตร)
  • ระบบขับเคลื่อน:
  • 2 × เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ Westinghouse A4W (ยูเรเนียมเสริมสมรรถนะสูง 93.5%)
  • 4 × กังหันไอน้ำ
  • 4 × เพลาใบจักร
  • กำลัง 260,000 แรงม้า (194 เมกะวัตต์)
  • ความเร็ว: มากกว่า 30 นอต (56 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 35 ไมล์ต่อชั่วโมง)
    พิสัยเชื้อเพลิง: ไม่จำกัดระยะทาง 20–25 ปี
    อัตราเต็มที่:
    • ประจำเรือ: 3,532 นาย
    • ฝูงบินประจำเรือ: 2,480 นาย
    ลูกเรือ: 6,012 นาย
    ระบบตรวจการและปฏิบัติการ:
    สงครามอิเล็กทรอนิกส์และเป้าลวง:
  • ระบบต่อต้านการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ AN/SLQ-32A(V)4
  • ระบบต่อต้านตอร์ปิโด SLQ-25A Nixie
  • ยุทโธปกรณ์:
  • 2 × แท่นปล่อย Mark 57 Mod 3 สำหรับอาวุธปล่อยผิวพื้นสู่อากาศ อาร์ไอเอ็ม-7 ซีสแปโรว์
  • 2 × แท่นปล่อยอาวุธปล่อยผิวพื้นสู่อากาศ อาร์ไอเอ็ม-116 Rolling Airframe Missile
  • 3 × ปืนแก็ตลิง Phalanx CIWS
  • เกราะ: เป็นความลับ
    อากาศยาน: อากาศยานปีกนิ่งและเฮลิคอปเตอร์ 90 ลำ
    อุปกรณ์สนับสนุนการบิน:
    • 4 × เครื่องยิงอากาศยาน
    • 4 × ลิฟต์สำหรับอากาศยาน

    ในปี 2011 เรือลำนี้ได้เป็นหนึ่งในเรือที่เข้าช่วยเหลือในสึนามิที่ประเทศญี่ปุ่น[3] และได้เคลื่อนออกจากญี่ปุ่นภายหลังจากที่จอดที่โยโกซึกะ และตรวจพบสารกัมมันตรังสีที่รั่วไหลมาจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ[4]

    ในปี 2011 ในเหตุการณ์อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 เรือลำนี้ได้วางแผนเข้ามาช่วยเหลือผู้ประสบภัยในประเทศไทย แต่ได้ถอนตัวออกเนื่องจากความสับสนของคำสั่งจากทางรัฐบาลไทย[5]

    อ้างอิง แก้

    1. Polmar, Norman (2004). The Naval Institute guide to the ships and aircraft of the U.S. fleet. Naval Institute Press. p. 112. ISBN 978-1-59114-685-8. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 March 2017.
    2. "CVN-68: NIMITZ CLASS" (PDF).
    3. Seawaves,"Warships Supporting Earthquake in Japan" เก็บถาวร 2011-03-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
    4. Radiation levels drop at Japanese plant
    5. "Flood-hit Thailand declines offer of help: US Navy". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-28. สืบค้นเมื่อ 2011-10-28.

    แหล่งข้อมูลอื่น แก้