ยูฟ่าเนชันส์ลีก 2021 รอบสุดท้าย

การแข่งขัน ยูฟ่าเนชันส์ลีก 2021 รอบสุดท้าย เป็นทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้ายของฤดูกาล 2020–21 ของยูฟ่าเนชันส์ลีก, ฤดูกาลที่สองของการแข่งขันฟุตบอลนานาชาติที่เกี่ยวข้องกับฟุตบอลชายทีมชาติของ 55 ชาติสมาชิกของ ยูฟ่า. ทัวร์นาเมนต์จะจัดขึ้นในเดือนกันยายนหรือตุลาคม ค.ศ. 2021, และจะแข่งขันกันโดยสี่ทีมชนะเลิศกลุ่มของ เนชันส์ลีก ลีก เอ. ทัวร์นาเมนต์จะประกอบไปด้วยรอบรองชนะเลิศสองนัด, เพลย์ออฟอันดับที่สาม และรอบชิงชนะเลิศที่จะตัดสินหาทีมชนะเลิศของ ยูฟ่าเนชันส์ลีก.

ยูฟ่าเนชันส์ลีก รอบสุดท้าย 2021
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพอิตาลี
วันที่6–10 ตุลาคม
ทีม4
สถานที่(ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศธงชาติสเปน สเปน
อันดับที่ 3ธงชาติอิตาลี อิตาลี
อันดับที่ 4ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน4
จำนวนประตู14 (3.5 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม94,168 (23,542 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดฝรั่งเศส การีม แบนเซมา
ฝรั่งเศส กีลียาน อึมบาเป
สเปน เฟร์รัน ตอร์เรส (2 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมสเปน เซร์ฆิโอ บุสเกตส์[1]
2019
2023

รูปแบบการแข่งขัน แก้

เนชันส์ลีก รอบสุดท้ายจะจัดขึ้นในเดือนกันยายนหรือตุลาคม ค.ศ. 2021 และจะแข่งขันกันโดยสี่ทีมชนะเลิศกลุ่มของ ลีก เอ. สี่ทีมจะถูกจับสลากแต่ละทีมอยู่ในกลุ่มที่มีฟ้าทีม (มากกว่าหนึ่งกลุ่มที่มีหกทีม) สำหรับ ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก รอบแบ่งกลุ่ม, ดังนั้นจึงออกไปจากหน้าต่างเดือนกันยายนหรือตุลาคม ค.ศ. 2021 มีให้สำหรับเนชันส์ลีก รอบสุดท้าย.[2]

เนชันส์ลีก รอบสุดท้าย จะลงเล่นในเลกเดียวแพ้คัดออกในแต่ละนัด, ประกอบไปด้วยรอบรองชนะเลิศสองนัด, เพลย์ออฟอันดับที่ 3 และรอบชิงชนะเลิศหนึ่งนัด. การประกบคู่รอบรองชนะเลิศ, พร้อมกับทีมบริหารเจ้าบ้านสำหรับเพลย์ออฟ อันดับที่สามและรอบชิงชนะเลิศ, จะถูกกำหนดโดยความหมายของการเปิดตัวการจับสลาก. ถ้าสกอร์ยังคงระดับที่จบของเวลาปกติ, 30 นาทีของ ต่อเวลาพิเศษ จะลงเล่น, ในขณะที่แต่ละทีมจะได้รับอนุญาตที่จะสร้างการเปลี่ยนตัวผู้เล่นคนที่สี่.[3] ถ้าสกอร์ยังคงเท่ากัน, ผู้ชนะจะถูกตัดสินโดย การดวลลูกโทษ. แมตช์ทั้งหมดในทัวร์นาเมนต์จะใช่ประโยชน์จากระบบ เทคโนโลยีโกลไลน์ และ ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ (วีเออาร์).[4]

ทีมที่เข้ารอบ แก้

แชมป์กลุ่มจากสี่กลุ่มของ ลีก เอ จะได้เข้ารอบสำหรับเนชันส์ลีก รอบสุดท้าย.

กลุ่ม ชนะเลิศ วันที่
ผ่านการคัดเลือก
จำนวนการลงสนามรอบสุดท้ายครั้งที่ผ่านมา ยูเอ็นแอล แรงกิงส์
พฤศจิกายน ค.ศ. 2020
ฟีฟ่า แรงกิงส์
กันยายน ค.ศ. 2021
เอ1   อิตาลี (เจ้าภาพ) 18 พฤศจิกายน 2020 0 (ครั้งแรก) 3 5
เอ2   เบลเยียม 18 พฤศจิกายน 2020 0 (ครั้งแรก) 2 1
เอ3   ฝรั่งเศส 14 พฤศจิกายน 2020 0 (ครั้งแรก) 1 4
เอ4   สเปน 17 พฤศจิกายน 2020 0 (ครั้งแรก) 4 8

ตารางการแข่งขัน แก้

เนชันส์ลีก รอบสุดท้าย, ตามกำหนดเดิมสำหรับวันที่ 2–6 มิถุนายน ค.ศ. 2021, ย้ายไปเป็นวันที่ 6–10 ตุลาคม ค.ศ. 2021 เป็นไปตามการกำหนดการแข่งขันใหม่ของ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 ไปเป็นเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม ค.ศ. 2021 เนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19.[5][2] ทัวร์นาเมนต์จะเกิดขึ้นในช่วงห้าวัน, กับรอบรองชนะเลิศในหลายวันต่อเนื่อง (ครั้งแรกของที่มีคุณสมบัติทีมเจ้าภาพ), และเพลย์ออฟอันดับที่ 3 และรอบชิงชนะเลิศสามวันหลังจากรอบรองชนะเลิศคู่ที่สอง.

สายการแข่งขัน แก้

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
6 ตุลาคม – มิลาน
 
 
  อิตาลี1
 
10 ตุลาคม – มิลาน
 
  สเปน2
 
  สเปน1
 
7 ตุลาคม – ตูริน
 
  ฝรั่งเศส2
 
  เบลเยียม2
 
 
  ฝรั่งเศส3
 
นัดชิงอันดับที่ 3
 
 
10 ตุลาคม – ตูริน
 
 
  อิตาลี2
 
 
  เบลเยียม1

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, CEST (UTC+2).

รอบรองชนะเลิศ แก้

อิตาลี พบ สเปน แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
อิตาลี[7]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สเปน[7]
GK 21 จันลุยจี ดอนนารุมมา
RB 2 โจวันนี ดี โลเรนโซ
CB 19 เลโอนาร์โด โบนุชชี (กัปตัน)   30'   42'
CB 23 อาเลสซันโดร บัสโตนี
LB 13 แอแมร์ซง
CM 18 นีโกเลาะ บาเรลลา   72'
CM 8 ฌอร์ฌิญญู   64'
CM 6 มาร์โก แวร์รัตตี   58'
RF 14 เฟเดรีโก กีเอซา
CF 20 เฟเดรีโก แบร์นาร์เดสกี   46'
LF 10 โลเรนโซ อินซิญเญ   58'
ผู้เล่นสำรอง:
DF 3 จอร์โจ กีเอลลีนี   46'
FW 17 โมอีเซ เกน   58'
MF 5 มานูเอล โลกาเตลลี   82'   58'
MF 7 โลเรนโซ เปเยกรีนี   64'
DF 4 ดาวีเด คาลาเบรีย   72'
ผู้จัดการทีม:
โรแบร์โต มันชีนี
 
GK 23 อูไน ซิมอน
RB 2 เซซาร์ อัซปิลิกูเอตา   45'
CB 19 แอมริก ลาปอร์ต
CB 3 เปา ตอร์เรส
LB 17 มาร์โกส อาลอนโซ
CM 8 โกเก   75'
CM 5 เซร์ฆิโอ บุสเกตส์ (กัปตัน)
CM 9 กาบิ   84'
RF 22 ปาโบล ซาราเบีย   65'   75'
CF 11 เฟร์รัน ตอร์เรส   49'
LF 21 มิเกล โอยาร์ซาบัล   89'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 7 เยเรมิ ปิโน   71'   49'
MF 20 มิเกล เมริโน   75'
MF 6 บรายอัน ฌิล   75'
MF 10 แซร์ฌี รูแบร์ตู   84'
ผู้จัดการทีม:
ลุยส์ เอนริเก

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
เฟร์รัน ตอร์เรส (สเปน)[8]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[7]
Igor Demeshko (รัสเซีย)
Maksim Gavrilin (รัสเซีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Sergey Ivanov (รัสเซีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Pol van Boekel (เนเธอร์แลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอจากการใช้วิดีโอช่วยตัดสิน:
Christian Dingert (เยอรมนี)

เบลเยียม พบ ฝรั่งเศส แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เบลเยียม[10]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ฝรั่งเศส[10]
GK 1 ตีโบ กูร์ตัว
CB 2 โตบี อัลเดอร์เวเริลด์
CB 3 เจซัน เดอนาเยอร์
CB 5 ยัน เฟอร์โตงเงิน   67'
RM 21 ตีมอตี กัสตาญ   90+2'
CM 6 อักแซล วิตแซล
CM 8 ยูรี ตีเลอมันส์   70'
LM 11 ยานิก การ์รัสโก
RF 7 เกฟิน เดอ เบรยเนอ
CF 9 โรเมลู ลูกากู
LF 10 เอแดน อาซาร์ (กัปตัน)   74'
ผู้เล่นสำรอง:
MF 17 ฮันส์ ฟานาเกิน   70'
FW 20 เลอันโดร โตรสซาร์ด   74'
FW 23 มีชี บัตชัวยี   90+2'
ผู้จัดการทีม:
  โรเบร์โต มาร์ติเนซ
 
GK 1 อูว์โก โยริส (กัปตัน)
CB 5 ฌูล กูนเด
CB 4 ราฟาแอล วาราน
CB 21 ลูกัส แอร์น็องแดซ
RM 2 แบ็งฌาแม็ง ปาวาร์   90+2'
CM 6 ปอล ปอกบา
CM 14 อาเดรียง ราบีโย   75'
LM 22 เตโอ แอร์น็องแดซ
AM 7 อ็องตวน กรีแยซมาน
CF 19 การีม แบนเซมา   90+7'
CF 10 กีลียาน อึมบาเป
ผู้เล่นสำรอง:
MF 8 เอาเรเลียง ทีโชอูอาเมนี   75'
DF 12 เลโอ ดูบัวส์   90+2'
MF 17 โฌร์ด็อง แวร์ตูต์   90+7'
ผู้จัดการทีม:
ดีดีเย เดช็อง

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
กีลียาน อึมบาเป (ฝรั่งเศส)[11]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
Jan Seidel (เยอรมนี)
Eduard Beitinger (เยอรมนี)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Harm Osmers (เยอรมนี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Christian Dingert (เยอรมนี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอจากการใช้วิดีโอช่วยตัดสิน:
Pol van Boekel (เนเธอร์แลนด์)

นัดชิงอันดับที่ 3 แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
อิตาลี[13]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เบลเยียม[13]
GK 21 จันลุยจี ดอนนารุมมา (กัปตัน)
RB 2 โจวันนี ดี โลเรนโซ   30'
CB 15 ฟรันเชสโก อาแซร์บี
CB 23 อาเลสซันโดร บัสโตนี
LB 13 แอแมร์ซง   82'
CM 18 นีโกเลาะ บาเรลลา   70'
CM 5 มานูเอล โลกาเตลลี
CM 7 โลเรนโซ เปเยกรีนี   70'
RF 11 โดเมนีโก เบราร์ดี   90+1'
CF 9 จาโคโม รัสปาโดรี   65'
LF 14 เฟเดรีโก กีเอซา   90+2'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 17 โมอีเซ เกน   65'
MF 16 บรายอัน กริสตันเต   70'
MF 8 ฌอร์ฌิญญู   70'
FW 10 โลเรนโซ อินซิญเญ   90+1'
MF 20 เฟเดรีโก แบร์นาร์เดสกี   90+2'
ผู้จัดการทีม:
โรแบร์โต มันชีนี
 
GK 1 ตีโบ กูร์ตัว
CB 2 โตบี อัลเดอร์เวเริลด์   63'
CB 3 เจซัน เดอนาเยอร์
CB 5 ยัน เฟอร์โตงเงิน (กัปตัน)   14'
RM 21 ตีมอตี กัสตาญ
CM 6 อักแซล วิตแซล   56'
CM 8 ยูรี ตีเลอมันส์   59'
LM 22 อาเลกซิส ซาเลอมาเกิร์ส   59'
RF 17 ฮันส์ ฟานาเกิน
CF 23 มีชี บัตชัวยี
LF 11 ยานิก การ์รัสโก   87'
ผู้เล่นสำรอง:
MF 7 เกฟิน เดอ เบรยเนอ   59'
FW 18 ชาร์ลีส เดอ แคแตลาแอเรอ   59'
FW 20 เลอันโดร โตรสซาร์ด   87'
ผู้จัดการทีม:
  โรเบร์โต มาร์ติเนซ

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
โดเมนีโก เบราร์ดี (อิตาลี)[14]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[13]
Uroš Stojković (เซอร์เบีย)
Milan Mihajlović (เซอร์เบีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Novak Simović (เซอร์เบีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Marco Fritz (เยอรมนี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอจากการใช้วิดีโอช่วยตัดสิน:
Chris Kavanagh (อังกฤษ)
Lee Betts (อังกฤษ)
Pol van Boekel (เนเธอร์แลนด์)

รอบชิงชนะเลิศ แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สเปน[16]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ฝรั่งเศส[16]
GK 23 อูไน ซิมอน
RB 2 เซซาร์ อัซปิลิกูเอตา
CB 19 แอมริก ลาปอร์ต   86'
CB 12 เอริก การ์ซิอา
LB 17 มาร์โกส อาลอนโซ
CM 9 กาบิ   75'
CM 5 เซร์ฆิโอ บุสเกตส์ (กัปตัน)
CM 16 โรดริ   84'
RF 11 เฟร์รัน ตอร์เรส   84'
CF 22 ปาโบล ซาราเบีย   61'
LF 21 มิเกล โอยาร์ซาบัล
ผู้เล่นสำรอง:
FW 7 เยเรมิ ปิโน   61'
MF 8 โกเก   75'
MF 20 มิเกล เมริโน   84'
MF 18 ปาโบล ฟอร์นัลส์   84'
ผู้จัดการทีม:
ลุยส์ เอนริเก
 
GK 1 อูว์โก โยริส (กัปตัน)
CB 5 ฌูล กูนเด   55'
CB 4 ราฟาแอล วาราน   43'
CB 3 แพร็สแนล กีมแปมเบ
RM 2 แบ็งฌาแม็ง ปาวาร์   79'
CM 6 ปอล ปอกบา   46'
CM 8 เอาเรเลียง ทีโชอูอาเมนี
LM 22 เตโอ แอร์น็องแดซ
AM 7 อ็องตวน กรีแยซมาน   90+2'
CF 19 การีม แบนเซมา
CF 10 กีลียาน อึมบาเป   90'
ผู้เล่นสำรอง:
DF 15 ดาโย อูว์ปาเมกาโน   43'
DF 12 เลโอ ดูบัวส์   79'
MF 17 โฌร์ด็อง แวร์ตูต์   90+2'
ผู้จัดการทีม:
ดีดีเย เดช็อง

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
การีม แบนเซมา (ฝรั่งเศส)[17]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[18]
Gary Beswick (อังกฤษ)
Adam Nunn (อังกฤษ)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Craig Pawson (อังกฤษ)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Stuart Burt (อังกฤษ)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Stuart Attwell (อังกฤษ)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอจากการใช้วิดีโอช่วยตัดสิน:
Chris Kavanagh (อังกฤษ)
Lee Betts (อังกฤษ)
Pol van Boekel (เนเธอร์แลนด์)

สถิติ แก้

อันดับผู้ทำประตู แก้

มีการทำประตู 14 ประตู จากการแข่งขัน 4 นัด เฉลี่ย 3.5 ประตูต่อนัด


การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

แหล่งที่มา : ยูฟ่า

รางวัล แก้

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์

รางวัล Hisense ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำรอบสุดท้ายได้มอบให้กับ เซร์ฆิโอ บุสเกตส์, ซึ่งได้รับเลือกจากผู้สังเกตการณ์ทางเทคนิคของยูฟ่า.[1]

ดาวซัลโวสูงสุด

"Alipay รางวัลดาวซัลโวสูงสุด", มอบให้กับผู้ทำประตูสูงสุดในเนชันส์ลีก รอบสุดท้าย,[19] มอบรางวัลนี้ให้กับ กีลียาน อึมบาเป, ผู้ที่จบด้วยสองประตูและสองแอสซิสต์ในเนชันส์ลีก รอบสุดท้าย.[20] การจัดอันดับถูกกำหนดโดยใช้เกณฑ์ดังต่อไปนี้: 1) ประตูในเนชันส์ลีก รอบสุดท้าย, 2) การผ่านบอลในเนชันส์ลีก รอบสุดท้าย, 3) นาทีที่น้อยที่สุดที่ลงเล่นในเนชันส์ลีก รอบสุดท้าย, 4) ประตูในเฟสลีก.[21]

อันดับผู้ทำประตูสูงสุด
อันดับ ผู้เล่น ประตู แอสซิสต์ นาที
    กีลียาน อึมบาเป 2 2 180
    เฟร์รัน ตอร์เรส 2 0 133
    การีม แบนเซมา 2 0 179

ประตูยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์

กัซปรอม ประตูยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์ถูกตัดสินโดยการโหวตจากช่องทางออนไลน์. รวมทั้งสิ้นสี่ประตูที่อยู่ในรายชื่อผู้ผ่านเข้ารอบ, คัดเลือกโดยผู้สังเกตการณ์ทางเทคนิคของยูฟ่า: การีม แบนเซมา (ในนัดที่พบกับ สเปน), เฟร์รัน ตอร์เรส (สองประตู ในนัดที่พบกับ อิตาลี), เตโอ แอร์น็องแดซ (ในนัดที่พบกับ เบลเยียม) และ โรเมลู ลูกากู (ในนัดที่พบกับ ฝรั่งเศส). แบนเซมาชนะรางวัลนี้สำหรับผระตูของเขาในนัดชิงชนะเลิศ.[22]

อันดับ ผู้ทำประตู คู่แข่งขัน สกอร์ ผล รอบ
    การีม แบนเซมา   ฝรั่งเศส 1–1 2–1 รอบชิงชนะเลิศ

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "Sergio Busquets named 2021 UEFA Nations League Player of the Finals". UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  2. 2.0 2.1 "European Qualifiers: FIFA World Cup – Qualifying draw procedure" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 18 June 2020. สืบค้นเมื่อ 18 June 2020.
  3. "Amendments to football's Laws of the Game in various UEFA competitions". UEFA.com. Union of European Football Associations. 5 July 2018. สืบค้นเมื่อ 5 July 2018.
  4. "Regulations of the UEFA Nations League, 2020/21" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 13 October 2019. สืบค้นเมื่อ 13 October 2019.
  5. "Resolution of the European football family on a coordinated response to the impact of the COVID-19 on competitions". UEFA.com. Union of European Football Associations. 17 March 2020. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
  6. "Full Time Report – Semi-finals – Italy v Spain" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 6 October 2021. สืบค้นเมื่อ 6 October 2021.
  7. 7.0 7.1 7.2 "Tactical Line-ups – Semi-finals – Italy v Spain" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 6 October 2021. สืบค้นเมื่อ 6 October 2021.
  8. "Italy 1–2 Spain: Ferran Torres double ends Azzurri run". UEFA.com. Union of European Football Associations. 6 October 2021. สืบค้นเมื่อ 6 October 2021.
  9. "Full Time Report – Semi-finals – Belgium v France" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 7 October 2021. สืบค้นเมื่อ 7 October 2021.
  10. 10.0 10.1 "Tactical Line-ups – Semi-finals – Belgium v France" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 7 October 2021. สืบค้นเมื่อ 7 October 2021.
  11. "Belgium 2–3 France: Theo Hernández completes stunning comeback". UEFA.com. Union of European Football Associations. 7 October 2021. สืบค้นเมื่อ 7 October 2021.
  12. "Full Time Report – Third-place match – Italy v Belgium" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  13. 13.0 13.1 13.2 "Tactical Line-ups – Third-place match – Italy v Belgium" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  14. "Italy 2–1 Belgium: Azzurri secure third place at Nations League finals". UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  15. "Full Time Report – Final – Spain v France" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  16. 16.0 16.1 "Tactical Line-ups – Final – Spain v France" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  17. "Spain 1–2 France: Les Bleus seal trophy with another comeback". UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  18. "English ref Anthony Taylor and his team to take charge of Spain v France in Milan". The Football Association. 8 October 2021. สืบค้นเมื่อ 8 October 2021.
  19. "Alipay Top Scorer trophy unveiled for UEFA Nations League". UEFA.com. Union of European Football Associations. 5 October 2021. สืบค้นเมื่อ 5 October 2021.
  20. "UEFA Nations League finals top scorer: Kylian Mbappé". UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  21. "Alipay Top Scorer". UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  22. "Goal of the Tournament". UEFA.com. Union of European Football Associations. 13 October 2021. สืบค้นเมื่อ 13 October 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้