มูโรรัง

นครในกิ่งจังหวัดอิบูริ จังหวัดฮกไกโด ประเทศญี่ปุ่น
(เปลี่ยนทางจาก มุโระรัง)

มูโรรัง (ญี่ปุ่น: 室蘭市โรมาจิMuroran-shi) เป็นนครและเมืองท่าที่ตั้งอยู่ในกิ่งจังหวัดอิบูริ จังหวัดฮกไกโด ประเทศญี่ปุ่น และจัดเป็นศูนย์กลางของกิ่งจังหวัดอิบูริ

มูโรรัง

室蘭市
สถานที่ต่าง ๆ ในนครมูโรรัง
สถานที่ต่าง ๆ ในนครมูโรรัง
ธงของมูโรรัง
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของมูโรรัง
ตรา
ที่ตั้งของมูโรรัง (เน้นสีชมพู) ในกิ่งจังหวัดอิบูริ
แผนที่
มูโรรังตั้งอยู่ในจังหวัดฮกไกโด
มูโรรัง
มูโรรัง
ที่ตั้งในจังหวัดฮกไกโด
มูโรรังตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น
มูโรรัง
มูโรรัง
ที่ตั้งในประเทศญี่ปุ่น
พิกัด: 42°19′N 140°58′E / 42.317°N 140.967°E / 42.317; 140.967
ประเทศธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
จังหวัดจังหวัดฮกไกโด ฮกไกโด
กิ่งจังหวัดอิบูริ
จัดตั้งมกราคม ค.ศ. 1593[ต้องการอ้างอิง]
สถานะนคร1 สิงหาคม ค.ศ. 1922
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีทาเกชิ อาโอยามะ (青山 剛; ตั้งแต่พฤษภาคม ค.ศ. 2011)
พื้นที่
 • ทั้งหมด80.88 ตร.กม. (31.23 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023)
 • ทั้งหมด78,003 คน
 • ความหนาแน่น964 คน/ตร.กม. (2,500 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+09:00 (เวลามาตรฐานญี่ปุ่น)
รหัสท้องถิ่น01205-0
ที่อยู่ศาลาว่าการ1-2 Saiwaichō, Muroran-shi, Hokkaidō
051-8511
เว็บไซต์www.city.muroran.lg.jp
สัญลักษณ์
สัตว์ปีกฮิงาริ (Periparus ater)
สัตว์น้ำร็อกฟิช (Sebastes schlegelii)
ดอกไม้กุหลาบพันปี
ต้นไม้นานากามาโดะ (Sorbus commixta)

ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 มูโรรังมีประชากรทั้งสิ้น 78,003 คน

ประวัติศาสตร์ แก้

ที่มาของชื่อ มูโรรัง นั้น กล่าวว่ามาจากศัพท์ไอนุ ที่ว่า โมะ รูเอรานิ ซึ่งหมายถึง "ก้นของทางลาดขนาดย่อม" ซึ่งทางลาดที่ว่าอยู่ที่หน้าวัดเซ็งไกในอดีต ในเขตซากิโมริ

ในช่วงปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 16 บริเวณมูโรรังนั้นถูกปกครองโดยตระกูลมัตสึมาเอะ ซึ่งมูโรรังก็ได้ถูกพัฒนาเป็นที่มั่นทางการค้าระหว่างชาวไอนุและตระกูลมัตสึมาเอะ

ในปี ค.ศ. 1892 มีการเปิดท่าเรือมูโรรังขึ้น เพื่อการก่อสร้างสะพานไม้ที่ไกงัง ในเวลาเดียวกัน ก็เริ่มมีการก่อสร้างถนนสายหลักจากซัปโปโระ ซึ่งเป็นหนึ่งในการพัฒนาประเทศเพื่อให้รอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก

จากการเปิดเส้นทางการเดินเรือจากมูโรรังไปยังโมริ และขยายทางรถไฟไปยังอิวามิซาวะ เทศบาลแห่งมูโรรังจึงได้ถูกก่อตั้งขึ้น ในวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1922 ตั้งแต่นั้นมามูโรรังได้รับการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการขนส่งที่สำคัญและเป็นศูนย์กลางของอุตสาหกรรมเหล็ก แต่น่าเสียดายที่ในสงครามโลกครั้งที่สอง โรงงานอุตสาหกรรมของบางส่วนของเมืองได้รับผลจากการระดมยิงของเรือรบอเมริกันในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1945 ก่อนที่ในเดือนต่อมาญี่ปุ่นจะประกาศยอมแพ้สงคราม

ปัจจุบันมูโรรังมีโรงงานปูนซีเมนต์ขนาดใหญ่ โรงงานเหล็ก โรงกลั่นน้ำมัน และอู่ต่อเรือมากมายที่กระจุกตัวอยู่ตามท่าต่าง ๆ ของเมือง

ภูมิศาสตร์ แก้

ภูมิอากาศ แก้

ข้อมูลภูมิอากาศของมูโรรัง (1991−2020 สภาวะปกติ, สภาวะรุนแรง 1923−ปัจจุบัน)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 9.8
(49.6)
11.4
(52.5)
16.7
(62.1)
23.1
(73.6)
27.6
(81.7)
28.7
(83.7)
32.5
(90.5)
32.8
(91)
31.0
(87.8)
25.8
(78.4)
20.9
(69.6)
14.4
(57.9)
32.8
(91)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 0.6
(33.1)
1.0
(33.8)
4.6
(40.3)
10.1
(50.2)
14.9
(58.8)
18.0
(64.4)
21.6
(70.9)
23.6
(74.5)
21.5
(70.7)
16.1
(61)
9.3
(48.7)
2.9
(37.2)
12.02
(53.63)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) -1.8
(28.8)
-1.6
(29.1)
1.4
(34.5)
6.1
(43)
10.7
(51.3)
14.4
(57.9)
18.5
(65.3)
20.6
(69.1)
18.4
(65.1)
12.9
(55.2)
6.4
(43.5)
0.5
(32.9)
8.88
(47.98)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) -4.0
(24.8)
-4.0
(24.8)
-1.3
(29.7)
3.0
(37.4)
7.6
(45.7)
11.9
(53.4)
16.4
(61.5)
18.6
(65.5)
15.7
(60.3)
9.8
(49.6)
3.5
(38.3)
-1.8
(28.8)
6.28
(43.31)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -13.4
(7.9)
-13.4
(7.9)
-9.6
(14.7)
-5.8
(21.6)
0.0
(32)
4.6
(40.3)
8.5
(47.3)
11.5
(52.7)
5.9
(42.6)
-2.2
(28)
-7.2
(19)
-12.9
(8.8)
−13.4
(7.9)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 53.6
(2.11)
44.3
(1.744)
49.9
(1.965)
70.0
(2.756)
108.3
(4.264)
109.1
(4.295)
159.2
(6.268)
187.3
(7.374)
156.6
(6.165)
101.8
(4.008)
83.2
(3.276)
65.8
(2.591)
1,188.9
(46.807)
ปริมาณหิมะ ซม (นิ้ว) 49
(19.3)
45
(17.7)
27
(10.6)
4
(1.6)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
5
(2)
27
(10.6)
157
(61.8)
ความชื้นร้อยละ 70 72 72 75 80 88 90 89 82 74 71 70 78
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 12.5 9.9 9.5 8.4 9.4 9.1 11.1 11.2 10.9 11.1 12.7 13.2 129
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย 15.5 13.8 7.8 0.8 0 0 0 0 0 0 2.0 9.5 49.4
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 88.3 123.6 183.7 198.9 194.9 115.8 133.2 144.9 166.5 165.2 102.7 71.1 1,728.1
แหล่งที่มา 1: สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น[1]
แหล่งที่มา 2: สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น[2]

การขนส่ง แก้

จุดที่น่าสนใจ แก้

  • สะพานฮากูโช สะพานแขวนที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันออกของประเทศญี่ปุ่น
  • หาดอิตังกิ

มูโรรังมีสถานที่ท่องเที่ยวที่งดงามแปดสถานที่เฉพาะที่เรียกว่า มูโรรังฮักเก (室蘭八景) หนึ่งในนั้นที่มีชื่อเสียงมาก คือ (ญี่ปุ่น: แหลมโลกโรมาจิ地球岬ทับศัพท์: ชิกีวมิซากิ)

อ้างอิง แก้

  1. 観測史上1~10位の値(年間を通じての値). JMA. สืบค้นเมื่อ February 18, 2022.
  2. 気象庁 / 平年値(年・月ごとの値). JMA. สืบค้นเมื่อ February 18, 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้