มาตราชั่งตวงวัดของญี่ปุ่น

ชักกันโฮ (ญี่ปุ่น: 尺貫法โรมาจิShakkan-hō) เป็นชื่อเรียกมาตราชั่งตวงวัดตามประเพณีญี่ปุ่น ชื่อ "ชักกันโฮ" นี้มาจากการประสมระหว่างคำว่า ชากุ (หน่วยวัดความยาว) และ คัง (หน่วยวัดมวล)

มีต้นกำเนิดมาจากจีน สมัยราชวงศ์ซางในช่วงก่อนคริสต์ศักราชราว 13 ศตวรรษ และมีเสถียรภาพมากที่สุดในยุคราชวงศ์โจว และเริ่มแพร่หลายไปในญี่ปุ่น, โชซ็อน และชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งหน่วยการวัดของราชวงศ์ถังได้รับการนำมาใช้อย่างเป็นทางการในญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 1244 และมีการปรับปรุงหน่วยการวัดในญี่ปุ่นเองนับแต่นั้นเรื่อยมา

อัตราในปี พ.ศ. 2434
ขนาด หน่วย เปรียบเทียบ
โรมาจิ คันจิ ไทย
ความยาว เมตร เมตร นิ้ว ฟุต หลา
1 jō โจ 100/33 3.03 119.3 9.942 3.314
1 kanejaku 曲尺 กาเนะจากุ 10/33 0.303 11.93 0.9942 0.3314
ปริมาตร ลิตร ลิตร มิลลิลิตร สหรัฐอเมริกา
ออนซ์ของเหลว
อังกฤษ
ออนซ์ของเหลว
shō โช 2401/1331 1.804    1804   61.00    63.49   
มวล กรัม กรัม ดรัม ออนซ์ ปอนด์
1 momme มมเมะ 15/4 3.75 2.116 0.1323 0.008267

ความยาว แก้

ตารางหน่วยความยาว
หน่วย ชากุ เมตริก หน่วยการวัดของ อังกฤษ/สหรัฐอเมริกา
ไทย โรมาจิ คันจิ มิลลิเมตร เมตร นิ้ว ฟุต หลา
โม 毛, 毫  1/10000  0.03030 3.030×10−5 1.193×10−3 9.942×10−5 3.314×10−5
ริง rin 1/1000  0.3030 3.030×10−4 0.01193 9.942×10−4 3.314×10−4
บุ bu 1/100  3.030   3.030×10−3 0.1193 9.942×10−3 3.314×10−3
ซุง sun 1/10  30.30    0.03030 1.193 0.09942 0.03314
ชากุ shaku 303.0     0.3030 11.93    0.9942 0.3314
เก็ง ken 1818      1.818   71.58    5.965   1.988  
ฮิโระ hiro 1818      1.818   71.58    5.965   1.988  
โจ 10  3030      3.030   119.3     9.942   3.314  
โช chō 360  1.091×105 109.1     4295      357.9     119.3    
ริ ri 12,960  3.927×106 3927      1.546×105 1.288×104 4295     
หมายเหตุ:
  • shaku บางครั้งเป็นหน่วยในการวัดขนาดของเท้า [1]
  • hiro เป็นหน่วยความลึกที่ชาวญี่ปุ่นเข้าใจ
  • 1 chō = 60 ken ≈ 0.1091 กิโลเมตร ≈ 0.06779 ไมล์
  • 1 ri = 36 chō ≈ 3.927 กิโลเมตร ≈ 2.440 ไมล์

พื้นที่ แก้

ตารางหน่วยพื้นที่
ขนาด สึโบะ เมตริก หน่วยการวัดของ อังกฤษ/สหรัฐอเมริกา
โรมาจิ คันจิ ตารางเมตร ตารางนิ้ว ตารางฟุต ตารางหลา
ชากุ 1/100 0.03306 51.24 0.3558 0.03954
โง 1/10 0.3306 512.4 3.558 0.3954
โจ 1/2 1.653   2562   17.79   1.979  
สึโบะ 1 3.306   5124   35.58   3.954  
บุ 1 3.306   5124   35.58   3.954  
เสะ 30 99.17    1.537×105 1067     118.6    
ตัง 段, 反 300 991.7     1.537×106 1.067×104 1186     
โช[2] 町 町歩 3000 9917      1.537×107 1.067×105 1.186×104
หมายเหตุ:
  • 1 โจ เป็นขนาดของเสื่อทาตามิ
  • 1 สึโบะ = 1 ตาราง ken –ใช้ในการก่อสร้าง
  • 1 บุ = 1 ตาราง ken –ใช้ในการเกษตรกรรม

ปริมาตร แก้

ตารางหน่วยปริมาตร
ขนาด โช เมตริก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ
ไทย โรมาจิ คันจิ มิลลิลิตร ลิตร ออนซ์ของเหลว ไพนต์ แกลลอน ออนซ์ของเหลว ไพนต์ แกลลอน
ไซ sai 1/1000 1.804 1.804×10−3 0.06100 3.812×10−3 4.765×10−4 0.06349 3.174×10−3 3.968×10−4
ชากุ shaku 1/100 18.04 0.01804 0.6100 0.03812 4.765×10−3 0.6349 0.03174 3.968×10−3
โก 1/10 180.4   0.1804 6.100   0.3812 0.04765 6.349   0.3174 0.03968
โช shō 1 1804    1.804   61.00    3.812   0.4765 63.49    3.174   0.3968
โตะ to 10 1.804×104 18.04    610.0     38.12    4.765   634.9     31.74    3.968  
โกกุ koku 100 1.804×105 180.4     6100      381.2     47.65    6349      317.4     39.68   
หมายเหตุ:
  • เป็นปริมาตรในการริน สาเก
  • shō (ราว 64.827 ลูกบาศก์ sun) เป็นขนาดทั่วไปของขวดสาเก (ปริมาตรบนฉลาก 1800 มิลลิลิตร)
  • koku แต่เดิมเป็นปริมาณข้าวที่คน 1 คนจะรับประทานได้ใน 1 ปี

มวล แก้

ตารางหน่วยมวล
ขนาด มมเมะ เมตริก หน่วยการวัดของ อังกฤษ/สหรัฐอเมริกา
ไทย โรมาจิ คันจิ มิลลิกรัม กรัม กิโลกรัม แดรม ออนซ์ ปอนด์
ฟุง fun 1/10 375 0.375 3.75×10−4 0.2116 0.01323 8.267×10−4
มมเมะ momme 1 3750 3.75 3.75×10−3 2.116 0.1323 8.267×10−3
เฮียะกุเมะ hyakume 百目 100 3.75×105 375    0.375   211.6    13.23    0.8267
กิง kin 160 6×105 600    0.6     338.6    21.16    1.323  
กัง หรือ กัมเมะ kan หรือ kanme 貫, 貫目 1000 3.75×106 3750    3.75    2116     132.3     8.267  

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 鉄道省 (Tetsudō-shō ) [กระทรวงรถไฟญี่ปุ่น]. 日本鉄道史 [Nippon (Nihon) Tetsudō-shi ประวัติการรถไฟญี่ปุ่น]. โตเกียว: กระทรวงรถไฟญี่ปุ่น. 上巻 (Jōkan) [1 (ชุด 3 เล่ม)]. p. 49. 大正10年 (1921). (ภาษาญี่ปุ่น). "ในเดือน 10 ปีเมจิที่ 3, (ราวพฤศจิกายน 1871) เรากำหนด 1 ฟุตอังกฤษเท่ากับ 1 ชากุ 4 ริน (1.004 ชากุ) ของทางรถไฟ"
  2. "Chōbu" ใช้เมื่อไม่ได้ตามด้วยเศษส่วน

แหล่งข้อมูลอื่น แก้