ภาษามองเกอร์ (Monguor language; ภาษาจีน: 土族语; พินยิน: Tǔzúyǔ;) เป็นกลุ่มภาษามองโกล มีหลายสำเนียง พูดโดยชาวมองเกอร์ มีระบบการเขียนที่พัฒนามาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 25 แต่ปัจจุบันใช้น้อย ภาษานี้แบ่งได้เป็นสองภาษาคือภาษามองคุล (Mongghul) ในเขตปกครองตนเองฮูซูและตู (Huzhu Tu Autonomous County) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาษาทิเบต และภาษามังเคอร์ (Mangghuer) ในเขตปกครองตนเองมิเญ ฮุยและตู (Minhe Hui and Tu Autonomous County) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาษาจีน

ภาษามองเกอร์
moŋɡuer
ประเทศที่มีการพูดChina
ภูมิภาคชิงไห่, กานซู
จำนวนผู้พูดไม่ทราบ (152,000 คน อ้างถึง1999)
ตระกูลภาษา
กลุ่มภาษามองโกล
  • Shirongolic
    • ภาษามองเกอร์
รหัสภาษา
ISO 639-3mjg

ตัวเลข แก้

ไทย ภาษามองโกเลีย ภาษามองเกอร์
1 หนึ่ง Nigen Nige
2 สอง Qoyar Ghoori
3 สาม Ghurban Ghuran
4 สี่ Dörben Deeran
5 ห้า Tabun Tawun
6 หก Jirghughan Jirighun
7 เจ็ด Dologhan Duluun
8 แปด Naiman Niiman
9 เก้า Yisün Shdzin
10 สิบ Arban Haran

อ้างอิง แก้

  • Dpal-ldan-bkra-shis, Keith Slater, et al. (1996): Language Materials of China’s Monguor Minority: Huzhu Mongghul and Minhe Mangghuer. Sino-Platonic papers no. 69.
  • Georg, Stefan (2003): Mongghul. In: Janhunen, Juha (ed.) (2003): The Mongolic languages. London: Routledge: 286-306.
  • Slater, Keith W. (2003): A grammar of Mangghuer: A Mongolic language of China's Qinghai-Gansu sprachbund. London/New York: RoutledgeCurzon.
  • Svantesson, Jan-Olof, Anna Tsendina, Anastasia Karlsson, Vivan Franzén (2005): The Phonology of Mongolian. New York: Oxford University Press.
  • Zhàonàsītú 照那斯图 (1981): Tǔzúyǔ jiǎnzhì 土族语简志 (Introduction to the Tu language). Běijīng 北京: Mínzú chūbǎnshè 民族出版社.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้