ฟุตบอลโลกหญิง 2019 กลุ่มดี

ฟุตบอลโลกหญิง 2019 กลุ่มดี จะแข่งขันระหว่างวันที่ 9 ถึง 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562[1] โดยในกลุ่มนี้ประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ อาร์เจนตินา และญี่ปุ่น[2] สองอันดับแรกจะได้ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย และถ้าอันดับที่สามทำผลงานได้ดีเป็น 4 อันดับแรกจะได้ผ่านเข้ารอบด้วยเช่นกัน[3]

ทีม แก้

ตำแหน่งที่จับสลากได้ ทีมชาติ โถ สมาพันธ์ เส้นทางการเข้ารอบสุดท้าย วันที่เข้ารอบสุดท้าย จำนวนครั้งที่เข้ารอบสุดท้าย เข้ารอบสุดท้ายครั้งล่าสุด ผลงานที่ดีที่สุด อันดับโลก
ธันวาคม 2561[nb 1] มีนาคม 2562
D1   อังกฤษ 1 ยูฟ่า ชนะเลิศกลุ่มที่ 1 รอบคัดเลือกโซนยุโรป 31 สิงหาคม พ.ศ. 2561 5 2015 อันดับที่ 3 (2015) 4 3
D2   สกอตแลนด์ 3 ยูฟ่า ชนะเลิศกลุ่มที่ 2 รอบคัดเลือกโซนยุโรป 4 กันยายน พ.ศ. 2561 1 เข้ารอบเป็นครั้งแรก 20 20
D3   อาร์เจนตินา 4 คอนเมบอล ชนะเพลย์ออฟคอนคาแคฟ–คอนเมบอล 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 3 2007 รอบแบ่งกลุ่ม (2003 และ 2007) 36 37
D4   ญี่ปุ่น 2 เอเอฟซี ชนะเลิศฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 13 เมษายน พ.ศ. 2561 8 2015 ชนะเลิศ (2011) 8 7

หมายเหตุ

ตารางคะแนน แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อังกฤษ (A) 3 3 0 0 5 1 +4 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   ญี่ปุ่น (A) 3 1 1 1 2 3 −1 4
3   อาร์เจนตินา 3 0 2 1 3 4 −1 2
4   สกอตแลนด์ (E) 3 0 1 2 5 7 −2 1
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : การตัดสินกรณีที่มีผลเสมอกัน
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.

การแข่งขัน แก้

เวลาที่แสดงเป็นเวลาออมแสงยุโรปกลาง (UTC+2) ซึ่งช้ากว่าประเทศไทย 5 ชั่วโมง[1]

อังกฤษ พบ สกอตแลนด์ แก้

อังกฤษ  2–1  สกอตแลนด์
พาร์ริส   14' (ลูกโทษ)
ไวต์   40'
รายงาน เอมส์ลี   79'
ผู้ชม: 13,188 คน[4]
ผู้ตัดสิน: ยานา อาดัมคอวา (สาธารณรัฐเช็ก)
 
 
 
 
 
 
 
 
อังกฤษ[5]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สกอตแลนด์[5]
GK 1 คาเรน บาดส์ลีย์
RB 2 ลูซี บรอนซ์
CB 5 สเตฟ ฮอตัน (กัปตัน)
CB 6 มิลลี ไบรต์   55'
LB 3 อเล็กซ์ กรีนวูด
CM 4 เคย์รา วอลช์
CM 10 ฟราน เคอร์บี   82'
CM 8 จิล สกอตต์
RF 7 นิกิตา พาร์ริส
CF 18 เอลเลน ไวต์
LF 22 เบท มีด   71'
ผู้เล่นสำรอง:
DF 15 แอบบี แมกมานัส   55'
MF 20 คาเรน คาร์นีย์   71'
MF 19 จอร์เจีย สแตนเวย์   82'
ผู้จัดการทีม:
ฟิล เนวิลล์
 
GK 1 ลี อเล็กซานเดอร์
RB 15 โซฟี ฮาเวิร์ด   75'
CB 4 เรเชล คอร์ซี (กัปตัน)
CB 5 เจนนิเฟอร์ บีตตี   43'
LB 3 นิโคลา โดเคอร์ตี   47'   55'
DM 8 คิม ลิตเทิล
CM 16 คริสตี เมอร์เรย์   87'
CM 9 แคโรไลน์ เวียร์
RM 11 ลิซา อีวานส์
LM 18 แคลร์ เอมส์ลี
CF 22 เอริน คัทเบิร์ต
ผู้เล่นสำรอง:
DF 2 เคิร์สตี สมิท   55'
DF 14 โคลอี อาร์เทอร์   75'
MF 23 ลิซซี อาร์นอต   87'
ผู้จัดการทีม:
เชลลีย์ เคอร์

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
นิกิตา พาร์ริส (อังกฤษ)[6]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[5]
Lucie Ratajová (สาธารณรัฐเช็ก)
Mária Súkeníková (สโลวาเกีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:
อานัสตาเซีย ปุสโตโวอีโตวา (รัสเซีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Sanja Rođak-Karšić (โครเอเชีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Felix Zwayer (เยอรมนี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Paweł Gil (โปแลนด์)
เยคาเตรีนา คูรอชคีนา (รัสเซีย)

อาร์เจนตินา พบ ญี่ปุ่น แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
อาร์เจนตินา[8]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ญี่ปุ่น[8]
GK 1 บานินา กอร์เรอา
RB 13 บีร์ฮิเนีย โกเมซ
CB 2 อากุสตินา บาร์โรโซ
CB 6 อัลดานา โกเมตติ
LB 3 เอเลียนา สตาบิเล
DM 16 โลเรนา เบนิเตซ   79'
CM 8 รูต บราโบ   64'
CM 14 มิเรียม มายอร์กา
RM 10 เอสเตฟานิอา บานินิ (กัปตัน)
LM 11 ฟลอเรนเซีย บอนเซกุนโด   77'
CF 9 โซเล ไฮเมส
ผู้เล่นสำรอง:
MF 5 บาเนซา ซันตานา   64'
MF 19 มาเรียนา ลาร์โรเกตเต   77'
MF 17 มาริเอลา โกโรเนล   79'
ผู้จัดการทีม:
การ์โลส บอร์เรโย
 
GK 18 อายากะ ยามาชิตะ
RB 22 ริซะ ชิมิซุ   38'
CB 4 ซากิ คูมาไง (กัปตัน)
CB 12 โมเอกะ มินามิ
LB 3 อายะ ซาเมชิมะ
RM 7 เอมิ นากาจิมะ   74'
CM 6 ฮินะ ซูงิตะ   45+1'
CM 17 นารูมิ มิอูระ
LM 14 ยูอิ ฮาเซงาวะ
CF 9 ยูอิกะ ซูงาซาวะ   90'
CF 20 คูมิ โยโกยามะ   57'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 8 มานะ อิวาบูจิ   85'   57'
FW 19 จุง เอ็นโด   74'
MF 13 ซาโอริ ทาการาดะ   90'
ผู้จัดการทีม:
อาซาโกะ ทากากูระ

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
เอสเตฟานิอา บานินิ (อาร์เจนตินา)[9]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
Manuela Nicolosi (ฝรั่งเศส)
มิเชล โอนีล (สาธารณรัฐไอร์แลนด์)
ผู้ตัดสินที่สี่:
แอนนา-มารี คีห์ลีย์ (นิวซีแลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
ซาราห์ โจนส์ (นิวซีแลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Clément Turpin (ฝรั่งเศส)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
การ์โลส เดล เซร์โร กรันเด (สเปน)
แคทรีน เนสบิตต์ (สหรัฐ)

ญี่ปุ่น พบ สกอตแลนด์ แก้

ญี่ปุ่น  2–1  สกอตแลนด์
อิวาบูจิ   23'
ซูงาซาวะ   37' (ลูกโทษ)
รายงาน เคลลแลนด์   88'
ผู้ชม: 13,201 คน[10]
ผู้ตัดสิน: ลิดยา ทาเฟสเซ อาเบเบ (เอธิโอเปีย)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ญี่ปุ่น[11]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สกอตแลนด์[11]
GK 18 อายากะ ยามาชิตะ
RB 22 ริซะ ชิมิซุ
CB 4 ซากิ คูมาไง (กัปตัน)
CB 5 นานะ อิจิเซะ
LB 3 อายะ ซาเมชิมะ   19'
RM 7 เอมิ นากาจิมะ
CM 17 นารูมิ มิอูระ
CM 6 ฮินะ ซูงิตะ
LM 19 จุง เอ็นโด   66'
CF 9 ยูอิกะ ซูงาซาวะ
CF 8 มานะ อิวาบูจิ   81'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 11 ริกาโกะ โคบายาชิ   66'
MF 14 ยูอิ ฮาเซงาวะ   81'
ผู้จัดการทีม:
อาซาโกะ ทากากูระ
 
GK 1 ลี อเล็กซานเดอร์
RB 2 เคิร์สตี สมิท
CB 4 เรเชล คอร์ซี (กัปตัน)   36'
CB 5 เจนนิเฟอร์ บีตตี
LB 7 เฮย์ลีย์ ลอเดอร์
RM 11 ลิซา อีวานส์   85'
CM 8 คิม ลิตเทิล
CM 9 แคโรไลน์ เวียร์
LM 23 ลิซซี อาร์นอต   60'
CF 22 เอริน คัทเบิร์ต
CF 13 เจน รอสส์   76'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 18 แคลร์ เอมส์ลี   60'
FW 19 ลานา เคลลแลนด์   76'
FW 20 ฟิโอนา บราวน์   85'
ผู้จัดการทีม:
เชลลีย์ เคอร์

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
มานะ อิวาบูจิ (ญี่ปุ่น)[12]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[11]
Mary Njoroge (เคนยา)
Queency Victoire (มอริเชียส)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Gladys Lengwe (แซมเบีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
พรินเซส บราวน์ (จาเมกา)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
มัสซีมีลีอาโน อีร์ราตี (อิตาลี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
ดรูว์ ฟิชเชอร์ (แคนาดา)
Oleksandra Ardasheva (ยูเครน)

อังกฤษ พบ อาร์เจนตินา แก้

อังกฤษ  1–0  อาร์เจนตินา
เทย์เลอร์   62' รายงาน
ผู้ชม: 20,294 คน[13]
ผู้ตัดสิน: ฉิน เหลียง (จีน)
 
 
 
 
 
 
 
 
อังกฤษ[14]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
อาร์เจนตินา[14]
GK 13 คาร์ลี เทลฟอร์ด
RB 2 ลูซี บรอนซ์
CB 5 สเตฟ ฮอตัน (กัปตัน)
CB 15 แอบบี แมกมานัส
LB 3 อเล็กซ์ กรีนวูด
CM 22 เบท มีด   81'
CM 16 เจด มัวร์   45+2'
CM 8 จิล สกอตต์
RF 10 ฟราน เคอร์บี   89'
CF 9 โจดี เทย์เลอร์
LF 7 นิกิตา พาร์ริส   87'
ผู้เล่นสำรอง:
MF 19 จอร์เจีย สแตนเวย์   81'
DF 17 เรเชล เดลี   87'
MF 20 คาเรน คาร์นีย์   89'
ผู้จัดการทีม:
ฟิล เนวิลล์
 
GK 1 บานินา กอร์เรอา
RB 4 อาเดรียนา ซัชส์
CB 2 อากุสตินา บาร์โรโซ   69'
CB 6 อัลดานา โกเมตติ   39'
LB 3 เอเลียนา สตาบิเล
DM 14 มิเรียม มายอร์กา
CM 8 รูต บราโบ
CM 16 โลเรนา เบนิเตซ   77'
RM 10 เอสเตฟานิอา บานินิ (กัปตัน)   68'
LM 11 ฟลอเรนเซีย บอนเซกุนโด
CF 9 โซเล ไฮเมส   90'
ผู้เล่นสำรอง:
MF 19 มาเรียนา ลาร์โรเกตเต   68'
MF 5 บาเนซา ซันตานา   77'
FW 7 ยาเอล โอบิเอโด   90'
ผู้จัดการทีม:
การ์โลส บอร์เรโย

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
บานินา กอร์เรอา (อาร์เจนตินา)[15]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[14]
Fang Yan (จีน)
คิม คย็อง-มิน (เกาหลีใต้)
ผู้ตัดสินที่สี่:
รี ฮยัง-อก (เกาหลีเหนือ)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
ฮง กึม-นยอ (เกาหลีเหนือ)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Felix Zwayer (เยอรมนี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Sascha Stegemann (เยอรมนี)
Katrin Rafalski (เยอรมนี)

ญี่ปุ่น พบ อังกฤษ แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ญี่ปุ่น[17]
 
 
 
 
 
 
 
 
อังกฤษ[17]
GK 18 อายากะ ยามาชิตะ
RB 22 ริซะ ชิมิซุ
CB 4 ซากิ คูมาไง (กัปตัน)
CB 5 นานะ อิจิเซะ
LB 3 อายะ ซาเมชิมะ
RM 11 ริกาโกะ โคบายาชิ   62'
CM 7 เอมิ นากาจิมะ
CM 6 ฮินะ ซูงิตะ
LM 19 จุง เอ็นโด   85'
CF 20 คูมิ โยโกยามะ   61'
CF 8 มานะ อิวาบูจิ
ผู้เล่นสำรอง:
FW 9 ยูอิกะ ซูงาซาวะ   61'
MF 17 นารูมิ มิอูระ   62'
MF 13 ซาโอริ ทาการาดะ   85'
ผู้จัดการทีม:
อาซาโกะ ทากากูระ
 
GK 1 คาเรน บาดส์ลีย์
RB 2 ลูซี บรอนซ์
CB 5 สเตฟ ฮอตัน (กัปตัน)
CB 6 มิลลี ไบรต์
LB 12 เดมี สโตกส์
CM 8 จิล สกอตต์
CM 4 เคย์รา วอลช์   72'
CM 19 จอร์เจีย สแตนเวย์   74'
RF 17 เรเชล เดลี
CF 18 เอลเลน ไวต์
LF 11 โทนี ดักแกน   83'
ผู้เล่นสำรอง:
MF 16 เจด มัวร์   72'
MF 20 คาเรน คาร์นีย์   74'
FW 7 นิกิตา พาร์ริส   83'
ผู้จัดการทีม:
ฟิล เนวิลล์

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
เอลเลน ไวต์ (อังกฤษ)[18]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[17]
ลูเซียนา มัสการัญญา (อุรุกวัย)
โมนิกา อัมโบยา (เอกวาดอร์)
ผู้ตัดสินที่สี่:
มาริอา การ์บาฮัล (ชิลี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Queency Victoire (มอริเชียส)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
การ์โลส เดล เซร์โร กรันเด (สเปน)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
โฆเซ มาริอา ซันเชซ มาร์ติเนซ (สเปน)
เลสลิเอ บัสเกซ (ชิลี)

สกอตแลนด์ พบ อาร์เจนตินา แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สกอตแลนด์[20]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
อาร์เจนตินา[20]
GK 1 ลี อเล็กซานเดอร์   90+3'
RB 2 เคิร์สตี สมิท   86'
CB 4 เรเชล คอร์ซี (กัปตัน)
CB 5 เจนนิเฟอร์ บีตตี
LB 3 นิโคลา โดเคอร์ตี
CM 8 คิม ลิตเทิล
CM 10 ลีแอนน์ คริคตัน
CM 9 แคโรไลน์ เวียร์   86'
RF 11 ลิซา อีวานส์   86'
CF 22 เอริน คัทเบิร์ต   85'
LF 18 แคลร์ เอมส์ลี
ผู้เล่นสำรอง:
DF 15 โซฟี ฮาเวิร์ด   86'
FW 20 ฟิโอนา บราวน์   86'
ผู้จัดการทีม:
เชลลีย์ เคอร์
 
GK 1 บานินา กอร์เรอา
RB 8 รูต บราโบ
CB 2 อากุสตินา บาร์โรโซ
CB 6 อัลดานา โกเมตติ
LB 3 เอเลียนา สตาบิเล
RM 19 มาเรียนา ลาร์โรเกตเต   75'
CM 5 บาเนซา ซันตานา   82'
CM 16 โลเรนา เบนิเตซ
LM 11 ฟลอเรนเซีย บอนเซกุนโด
CF 10 เอสเตฟานิอา บานินิ (กัปตัน)   60'
CF 9 โซเล ไฮเมส   70'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 22 มิลาโกรส เมเนนเดซ   60'
MF 20 ดาลิลา อิปโปลิโต   70'
MF 14 มิเรียม มายอร์กา   82'
ผู้จัดการทีม:
การ์โลส บอร์เรโย

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
เอริน คัทเบิร์ต (สกอตแลนด์)[21]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[20]
ฮง กึม-นยอ (เกาหลีเหนือ)
คิม คย็อง-มิน (เกาหลีใต้)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Lidya Tafesse Abebe (เอธิโอเปีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
มาโกโตะ โบโซโนะ (ญี่ปุ่น)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Bastian Dankert (เยอรมนี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
ดรูว์ ฟิชเชอร์ (แคนาดา)
Katrin Rafalski (เยอรมนี)

การคาดโทษ แก้

คะแนนแฟร์เพลย์จะถูกนำมาใช้ในฐานะเงื่อนไขการตัดสินการเข้ารอบถ้าโดยรวมและสถิติเฮดทูเฮดของแต่ละทีมเสมอกัน. โดยคิดคะแนนขึ้นอยู่กับจำนวนใบเหลืองและจำนวนใบแดงที่ได้รับในแต่ละนัดของทุกกลุ่มทั้งหมดดังต่อไปนี้:[3]

  • ใบเหลืองใบแรก: ลบ 1 คะแนน;
  • ใบแดงทางอ้อม (ใบเหลืองใบที่สอง): ลบ 3 คะแนน;
  • ใบแดงโดยตรง: ลบ 4 คะแนน;
  • ใบเหลืองและใบแดงโดยตรง: ลบ 5 คะแนน;
ทีม นัดที่ 1 นัดที่ 2 นัดที่ 3 คะแนน
                                   
  อังกฤษ 1 −1
  อาร์เจนตินา 2 1 −3
  ญี่ปุ่น 3 1 −4
  สกอตแลนด์ 2 1 3 −6

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "Match Schedule FIFA Women's World Cup France 2019" (PDF). FIFA.com. 8 December 2018.
  2. "FIFA Women's World Cup France 2019 match schedule confirmed". FIFA. 8 December 2018. สืบค้นเมื่อ 8 December 2018.
  3. 3.0 3.1 "Regulations – FIFA Women's World Cup France 2019" (PDF). FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-10-13. สืบค้นเมื่อ 8 December 2018.
  4. "Match report – Group D – England v Scotland" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  5. 5.0 5.1 5.2 "Tactical Line-up – Group D – England v Scotland" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  6. "England v Scotland – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-26. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  7. "Match report – Group D – Argentina v Japan" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  8. 8.0 8.1 "Tactical Line-up – Group D – Argentina v Japan" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  9. "Argentina v Japan – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-07. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  10. "Match report – Group D – Japan v Scotland" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  11. 11.0 11.1 11.2 "Tactical Line-up – Group D – Japan v Scotland" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  12. "Japan v Scotland – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-09. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  13. "Match report – Group D – England v Argentina" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  14. 14.0 14.1 14.2 "Tactical Line-up – Group D – England v Argentina" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  15. "England v Argentina – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-09. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  16. "Match report – Group D – Japan v England" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  17. 17.0 17.1 17.2 "Tactical Line-up – Group D – Japan v England" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  18. "Japan v England – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-07. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  19. "Match report – Group D – Scotland v Argentina" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  20. 20.0 20.1 20.2 "Tactical Line-up – Group D – Scotland v Argentina" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  21. "Scotland v Argentina – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-09. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้