ฟุตบอลโลกหญิง 2015 รอบคัดเลือก

รอบคัดเลือกฟุตบอลโลกหญิง 2015 จำนวนของทีมในการแข่งขันรอบแบ่งกลุ่มจะขยายจาก 16 ทีม ไปเป็น 24 ทีม โดยมีจำนวนของการแข่งขันเพิ่มขึ้นจาก 32 คู่ ไปเป็น 52 คู่[1] เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 2012 ทางฟีฟ่าได้ประกาศให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดสรรการคัดเลือกตำแหน่งของสหพันธ์ภาคพื้นทวีป คณะกรรมการบริหารฟีฟ่าได้อนุมัติการจัดสรรตาราง และแบ่งสายของแปดทีมใหม่ดังต่อไปนี้:[2]

  • เอเอฟซี (เอเชีย): 5 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 3)
  • ซีเอเอฟ (แอฟริกา): 3 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2)
  • คอนคาแคฟ (อเมริกาเหนือ/กลาง, แคริบเบียน): 3.5+เจ้าภาพ 1 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2.5)
  • คอนเมบอล (อเมริกาใต้): 2.5 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2)
  • โอเอฟซี (โอเชียเนีย): 1 ประเทศ (เช่นเดียวกับ ค.ศ. 2011)
  • ยูฟ่า (ยุโรป): 8 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 4.5+1)

ทีมที่ผ่านการรับรอง แก้

ทีม ลำดับที่ได้
รับการคัดเลือก
วิธีที่ผ่าน
การคัดเลือก
วันที่ได้
รับการคัดเลือก
สมัยที่ได้แข่ง
ฟุตบอลโลกหญิง
ปรากฏตัว
ครั้งล่าสุด
ผลการแข่งที่ดีที่สุด
ครั้งที่ผ่านมา
อันดับโลกฟีฟ่า
ขณะเริ่มการแข่ง
  แคนาดา 1 เจ้าภาพ 3 มีนาคม 2011 ครั้งที่ 6 ค.ศ. 2011 อันดับสี่ (2003) 8
  จีน 2 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 17 พฤษภาคม 2014 ครั้งที่ 6 ค.ศ. 2007 รองชนะเลิศ (ค.ศ. 1999) 14
  เกาหลีใต้ 3 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 17 พฤษภาคม 2014 ครั้งที่ 2 ค.ศ. 2003 รอบแบ่งกลุ่ม (ค.ศ. 2003) 17
  ญี่ปุ่น 4 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 18 พฤษภาคม 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 ผู้ชนะเลิศ (ค.ศ. 2011) 3
  ออสเตรเลีย 5 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 18 พฤษภาคม 2014 ครั้งที่ 6 ค.ศ. 2011 รอบก่อนรองรองชนะเลิศ (ค.ศ. 2007) 10
  ไทย 6 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 21 พฤษภาคม 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก 30
  สวิตเซอร์แลนด์ 7 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 3 15 มิถุนายน 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก 18
  อังกฤษ 8 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 6 21 สิงหาคม 2014 ครั้งที่ 4 ค.ศ. 2011 รอบก่อนรองชนะเลิศ (1995, 2007, 2011) 7
  นอร์เวย์ 9 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 5 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 ผู้ชนะเลิศ (1995) 9
  เยอรมนี 10 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 1 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 ผู้ชนะเลิศ (2003, 2007) 8
  สเปน 11 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 2 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก 16
  ฝรั่งเศส 12 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 7 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 3 ค.ศ. 2011 อันดับสี่ (ค.ศ. 2011) 4
  สวีเดน 13 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 4 17 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 รองชนะเลิศ (2003) 5
  บราซิล 14 สองอันดับแรก โกปาอาเมริกา 26 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 รองชนะเลิศ (ค.ศ. 2007) 6
  โคลอมเบีย 15 สองอันดับแรกโกปาอาเมริกา 28 กันยายน 2014 ครั้งที่ 2 ค.ศ. 2011 รอบคัดเลือก (ค.ศ. 2011) 31
  ไนจีเรีย 16 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 22 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 รองชนะเลิศ (ค.ศ. 1999) 35
  แคเมอรูน 17 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 22 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก 51
  คอสตาริกา 18 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงคอนคาเคฟแชมเปียนส์ชิพ 2014 24 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 1 1 เปิดตัวครั้งแรก 40
  สหรัฐ 19 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงคอนคาเคฟแชมเปียนส์ชิพ 2014 24 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 7 7 ผู้ชนะเลิศ (1991, 1999) 1
  โกตดิวัวร์ 20 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 25 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก 64
  เม็กซิโก 21 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงคอนคาเคฟแชมเปียนส์ชิพ 2014 26 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 3 2 รอบแบ่งกลุ่ม (ค.ศ. 1999, ค.ศ. 2011) 25
  นิวซีแลนด์ 22 ผู้ชนะ ฟุตบอลหญิงโอเชียเนียเนชั่นคัพ 2014 29 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 4 3 รอบแบ่งกลุ่ม (1991, 2007, 2011) 19
  เนเธอร์แลนด์ 23 ผู้ชนะ รอบตัดเชือกโซนยุโรป 27 พฤศจิกายน 2014 ครั้งที่ 1 - เปิดตัวครั้งแรก 15
  เอกวาดอร์ 24 ผู้ชนะ รอบตัดเชือกโซนอเมริกา 2 ธันวาคม 2014 ครั้งที่ 1 - เปิดตัวครั้งแรก 49

การแข่งขันรอบคัดเลือก แก้

สหพันธ์ฟุตบอล การแข่งขัน ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน Nations still able to qualify โควตา Slots เริ่มการแข่งขัน สิ้นสุดการแข่งขัน
เอเอฟซี (เอเชีย) ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 20 0 5 5 21 พฤษภาคม 2556 21 พฤษภาคม 2557
ซีเอเอฟ (แอฟริกา) ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 26 0 3 3 14 กุมภาพันธ์ 2556 25 ตุลาคม 2557
คอนคาแคฟ
(อเมริกาเหนือ/กลาง, แคริบเบียน)
ฟุตบอลหญิงคอนคาเคฟแชมเปียนส์ชิพ 2014 28+11 1 3+1 3+1 หรือ 4+1 19 พฤษภาคม 2557 2 ธันวาคม 2557
คอนเมบอล (อเมริกาใต้) ฟุตบอลหญิงโกปาอาเมริกา 2014 10 1 2 2 หรือ 3 11 กันยายน 2557 2 ธันวาคม 2557
โอเอฟซี (โอเชียเนีย) ฟุตบอลหญิงโอเชียเนียเนชั่นคัพ 2014 4 0 1 1 25 ตุลาคม 2557 29 ตุลาคม 2557
ยูฟ่า (ยุโรป) รอบคัดเลือกฟุตบอลโลกหญิง ฟีฟ่า ยูฟ่า 2014 46 0 8 8 4 เมษายน 2556 27 พฤศจิกายน 2557
รวม 134+1 2 22+1 23+1 4 เมษายน 2013 2 ธันวาคม 2014
  • 1 30 nations started, but Martinique and Guadeloupe are not eligible for World Cup qualification. They are only members of CONCACAF and not FIFA.

ทวีปเอเชีย แก้

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

แปดทีมจะได้รับการแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละสี่ทีม โดยแต่ละทีมจะต้องเคยพบกับทีมในกลุ่มของตนหนึ่งครั้ง และสองทีมที่ชนะของแต่ละกลุ่มจะเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ ส่วนทีมที่ได้อันดับสามของทั้งสองกลุ่มจะเข้าแข่งขันเพื่อชิงที่ห้าและผ่านการคัดเลือกเข้าสู่ฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย.

ฟุตบอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น, ออสเตรเลีย, สาธารณรัฐประชาชนจีน และ สาธารณรัฐเกาหลีใต้ เข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ. ทีมชาติเวียตนาม และ ทีมชาติไทย แข่งขันรอบตัดเชือกอันดับห้า.

รอบเพลย์ออฟอันดับห้า แก้

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
เวียดนาม   1–2   ไทย

ฟุตบอลหญิงทีมชาติไทย ได้เข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลกหญิงเป็นครั้งแรก.

ทวีปแอฟริกา แก้

แปดทีมจะได้รับการแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละสี่ทีม โดยแต่ละทีมจะต้องเคยพบกับทีมในกลุ่มของตนหนึ่งครั้ง ส่วนทีมที่ได้อันดับสองของทั้งสองกลุ่มจะเข้าแข่งขันเพื่อชิงที่สามและผ่านการคัดเลือกเข้าสู่ฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย.

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

รอบน๊อกเอาต์ แก้

ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 ไนจีเรีย, แคเมอรูน และ โกตติวัวร์ ผ่านเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลกหญิง.

ทวีปอเมริกาเหนือ แก้

แปดทีมจะได้รับการแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละสี่ทีม โดยแต่ละทีมจะต้องเคยพบกับทีมในกลุ่มของตนหนึ่งครั้ง และสองทีมที่ชนะของแต่ละกลุ่มจะเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ ส่วนทีมที่ได้อันดับสามจะเข้าแข่งขันรอบตัดเชือกโซนอเมริกา.

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

รอบน๊อกเอาต์ แก้

2014 CONCACAF Women's Championship สหรัฐอเมริกา, คอสตาริกา และเม็กซิโก ผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ. ตรินิแดดและโตเบโก แข่งขันรอบตัดเชือกโซนอเมริกา.

ทวีปอเมริกาใต้ แก้

แปดทีมจะได้รับการแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละสี่ทีม โดยแต่ละทีมจะต้องเคยพบกับทีมในกลุ่มของตนหนึ่งครั้ง และสองทีมที่ชนะของแต่ละกลุ่มจะเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ ส่วนทีมที่ได้อันดับสามจะเข้าแข่งขันรอบตัดเชือกโซนอเมริกา.

รอบแรก แก้

รอบที่สอง แก้

ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
  บราซิล 3 2 1 0 10 0 +10 7
  โคลอมเบีย 3 1 2 0 2 1 +1 5
  เอกวาดอร์ 3 1 0 2 4 8 −4 3
  อาร์เจนตินา 3 0 1 2 2 9 −7 1

บราซิล และ โคลอมเบีย เข้ารอบสุดท้ายหญิงโดยอัตโนมัติ. เอกวาดอร์ แข่งขันรอบตัดเชือกโซนอเมริกา.

รอบเพลย์ออฟโซนอเมริกา แก้

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เอกวาดอร์   1–0   ตรินิแดดและโตเบโก 0–0 1–0

เอกวาดอร์ ได้เข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลกหญิงเป็นครั้งแรก.

ทวีปโอเชียเนีย แก้

รองชิงชนะเลิศ แก้

ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
  นิวซีแลนด์ 3 3 0 0 30 0 +30 9
  ปาปัวนิวกินี 3 2 0 1 7 4 +3 6
  หมู่เกาะคุก 3 0 1 2 2 16 −14 1
  ตองงา 3 0 1 2 1 20 −19 1

นิวซีแลนด์ เข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลกหญิงโดยอัตโนมัติ.

ทวีปยุโรป แก้

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

เยอรมนี, สเปน, สวิตเซอร์แลนด์, สวีเดน, นอร์เวย์, อังกฤษ และ ฝรั่งเศส เข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ. อิตาลี, สก็อตแลนด์, เนเธอร์แลนด์ และ ยูเครน แข่งขันรอบตัดเชือก.

รอบเพลย์ออฟ แก้

แม่แบบ:รอบตัดเชือกฟุตบอลโลกหญิง 2015 โซนยุโรป เนเธอร์แลนด์ ได้เข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลกหญิงเป็นครั้งแรก.

อ้างอิง แก้

  1. MacKinnon, John (1 December 2010). "The party's over ... what's next?". Edmonton Journal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-14. สืบค้นเมื่อ 1 December 2010.
  2. "Qualification slots for Canada 2015 confirmed". FIFA.com. 11 June 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-30. สืบค้นเมื่อ 2014-11-28.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

แม่แบบ:รอบคัดเลือกฟุตบอลโลกหญิง 2015