ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022

การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 เป็นครั้งที่ 16 ของการแข่งขัน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย (ก่อนหน้านั้นใช้ชื่อ เอเอฟซี ฟุตซอล แชมเปียนชิพ มาก่อนจะรีแบรนด์ในปี ค.ศ. 2021)[1] เป็นการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์ระดับนานาชาติประจำปีที่จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติฟุตซอลทีมชายของทวีปเอเชีย ทั้งหมด 16 ทีมที่จะเข้าร่วมในทัวร์นาเมนต์[2]

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพคูเวต
วันที่27 กันยายน – 8 ตุลาคม ค.ศ. 2022
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (สมัยที่ 4)
รองชนะเลิศธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
อันดับที่ 3ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
อันดับที่ 4ธงชาติไทย ไทย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน28
จำนวนประตู170 (6.07 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอิหร่าน Hossein Tayyebi (10 ประตู)
2020
2018
2024

รอบคัดเลือก แก้

รอบคัดเลือกเดิมมีกำหนดจะเล่นตั้งแต่วันที่ 13 ถึง 24 ตุลาคม พ.ศ. 2564.[3] อย่างไรก็ตาม, เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2564, เอเอฟซีประกาศว่าจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 15 เมษายน พ.ศ. 2565.

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ แก้

ทีมด้านล่างนี้คือได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสำหรับทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้าย.

ทีม เข้ารอบในฐานะ วันที่ผ่านเข้ารอบ จำนวนครั้งที่ได้เข้าร่วม ผลงานล่าสุด ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
  คูเวต เจ้าภาพ 25 มกราคม 2021[4] ครั้งที่ 12 2014 อันดับที่ 4 (2003, 2014)
  อิรัก โซนตะวันตก ชนะเลิศ กลุ่ม บี 6 เมษายน 2022 ครั้งที่ 12 2018 อันดับ 4 (2018)
  เลบานอน โซนตะวันตก ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 6 เมษายน 2022 ครั้งที่ 12 2018 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2004, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2018)
  บาห์เรน โซนตะวันตก รองชนะเลิศ กลุ่ม บี 6 เมษายน 2022 ครั้งที่ 3 2018 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2018)
  ซาอุดีอาระเบีย โซนตะวันตก รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ 7 เมษายน 2022 ครั้งที่ 2 2016 รอบแบ่งกลุ่ม (2016)
  อินโดนีเซีย โซนอาเซียน รองชนะเลิศ 8 เมษายน 2022 ครั้งที่ 11 2014 รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2008, 2010, 2012, 2014)
  ไทย โซนอาเซียน ชนะเลิศ 8 เมษายน 2022 ครั้งที่ 16 2018 รองชนะเลิศ (2008, 2012)
  โอมาน โซนตะวันตก ชนะเลิศ เพลย์ออฟ 9 เมษายน 2022 ครั้งที่ 1 ครั้งแรก ไม่เคย
  เวียดนาม โซนอาเซียน อันดับ 3 10 เมษายน 2022 ครั้งที่ 6 2018 อันดับ 4 (2016)
  อุซเบกิสถาน โซนกลางและใต้ ชนะเลิศ กลุ่ม บี 11 เมษายน 2022 ครั้งที่ 16 2018 รองชนะเลิศ (2001, 2006, 2010, 2016)
  อิหร่าน โซนกลางและใต้ ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 11 เมษายน 2022 ครั้งที่ 16 2018 แชมเปียนส์ (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016, 2018)
  ทาจิกิสถาน โซนกลางและใต้ รองชนะเลิศ กลุ่ม บี 12 เมษายน 2022 ครั้งที่ 11 2018 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2007)
  เติร์กเมนิสถาน โซนกลางและใต้ รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ 12 เมษายน 2022 ครั้งที่ 7 2012 รอบแบ่งกลุ่ม (2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012)
  ญี่ปุ่น โซนตะวันออก ชนะเลิศ 19 พฤษภาคม 2022 ครั้งที่ 16 2018 แชมเปียนส์ (2006, 2012, 2014)
  เกาหลีใต้ โซนตะวันออก รองชนะเลิศ 19 พฤษภาคม 2022 ครั้งที่ 14 2018 รองชนะเลิศ (1999)
  จีนไทเป โซนตะวันออก อันดับที่ 3 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 ครั้งที่ 13 2018 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2003)
1 ตัวเอียง ระบุถึงเจ้าภาพในปีนั้น.

สนามแข่งขัน แก้

คูเวต ซิตี
ซาอัด อัล-อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์
ความจุ: 6,000
 

การจับสลาก แก้

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

ผู้เล่น แก้

แต่ละทีมจะต้องลงทะเบียนผู้เล่น 14 คน, และอย่างน้อยที่สุดสองตำแหน่งจะต้องเป็นผู้รักษาประตู.[2]

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ.

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, AST (UTC+3).

ตารางการแข่งขัน
นัดที่ แมตช์
นัดที่ 1 1 v 4, 2 v 3
นัดที่ 2 4 v 2, 3 v 1
นัดที่ 3 1 v 2, 3 v 4

กลุ่ม เอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ไทย 3 2 1 0 11 5 +6 7 รอบแพ้คัดออก
2   คูเวต 3 1 2 0 11 6 +5 5
3   อิรัก 3 1 1 1 9 5 +4 4
4   โอมาน 3 0 0 3 3 18 −15 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
อิรัก  2–3  ไทย
  • Zeyad   8'
  • Ihsan   14'
รายงาน
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kobayashi (ญี่ปุ่น)
คูเวต  7–2  โอมาน
  • Al-Tawail   6'23'
  • Al-Abasi   8'30'
  • Al-Basam   23'
  • Al-Khalifah   30'
  • Al-Fadhel   33'
รายงาน
  • Al-Balushi   31'
  • Al-Maawali   38'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Ebrahim Mehrabi Afshar (อิหร่าน)

โอมาน  0–5  อิรัก
รายงาน
  • Abdulhadi   4'
  • Faisal   4'32'35'
  • Riyadh   14'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Mohamad Chami (เลบานอน)
ไทย  2–2  คูเวต
รายงาน
  • Al-Fadhel   18'
  • Al-Basam   27'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Husain Al Bahhar (บาห์เรน)

ไทย  6–1  โอมาน
รายงาน
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Ebrahim Mehrabi Afshar (อิหร่าน)
คูเวต  2–2  อิรัก
  • Al-Wadi   2'
  • Al-Mosabehi   21'
รายงาน
  • Faisal   13'18'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Ryan Shepheard (ออสเตรเลีย)

กลุ่ม บี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อุซเบกิสถาน (A) 3 3 0 0 17 3 +14 9 รอบแพ้คัดออก
2   ทาจิกิสถาน (A) 3 2 0 1 14 11 +3 6
3   บาห์เรน 3 0 1 2 8 14 −6 1
4   เติร์กเมนิสถาน 3 0 1 2 9 20 −11 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป.
อุซเบกิสถาน  8–0  เติร์กเมนิสถาน
  • Choriev   6'
  • Adilov   13'22'
  • Ropiev   15'33'
  • D. Rakhmatov   30'
  • Fakhriddinov   34'
  • Usmonov   40'
รายงาน
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Fahad Al-Hosani (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
บาห์เรน  3–4  ทาจิกิสถาน
  • Ali   12'
  • Antar   34'
  • Anan   39'
รายงาน
  • Kuziev   8'
  • Soliev   23'
  • Sardorov   24'
  • Yorov   39'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Lee Po-fu (จีนไทเป)

เติร์กเมนิสถาน  4–4  บาห์เรน
  • Sähedow   13'14'19'26'
รายงาน
  • Antar   10'
  • Abdulla   13'
  • Yusuf   26'
  • Al-Sandi   40'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Hawkar Salar Ahmed (อิรัก)
ทาจิกิสถาน  2–3  อุซเบกิสถาน
  • Sardorov   4'38'
รายงาน
  • Tulkinov   3'
  • Nishonov   7'
  • A. Rakhmatov   19'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Gelareh Nazemi Deylami (อิหร่าน)

ทาจิกิสถาน  8–5  เติร์กเมนิสถาน
  • Yorov   8'9'22'38'
  • Sharipov   11'
  • Baýramdurdyýew   19' (o.g.)
  • Sardorov   37'40'
รายงาน
  • Soltanow   3'
  • Sähedow   20'40'
  • Annagulyýew   35'37'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Mohamad Chami (เลบานอน)
อุซเบกิสถาน  6–1  บาห์เรน
  • Tulkinov   6'
  • Usmonov   20'30'
  • Adilov   22'
  • Fakhriddinov   26'
  • Nishonov   27'
รายงาน
  • Mayhad   35'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Eisa Abdulhoussain (คูเวต)

กลุ่ม ซี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิหร่าน (Q) 3 3 0 0 24 1 +23 9 รอบแพ้คัดออก
2   อินโดนีเซีย (Q) 3 2 0 1 11 8 +3 6
3   จีนไทเป (E) 3 0 1 2 3 15 −12 1
4   เลบานอน (E) 3 0 1 2 3 17 −14 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 2022. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(E) ตกรอบ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
อิหร่าน  5–0  อินโดนีเซีย
รายงาน
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Ryan Shepheard (ออสเตรเลีย)
เลบานอน  1–1  จีนไทเป
  • Hammoud   18'
รายงาน
  • Huang Wei-lun   13'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Andrew Best (ออสเตรเลีย)

อินโดนีเซีย  7–2  เลบานอน
  • Pangestu   3'
  • Fajriyan   7'
  • Firman   19'
  • Iqbal   21'
  • Rizki   27'
  • Gunawan   37'
  • Syauqi   40'
รายงาน
  • Zeitoun   25'
  • Koukezian   37'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Trương Quốc Dũng (เวียดนาม)
จีนไทเป  1–10  อิหร่าน
  • He Chia-chen   31'
รายงาน
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Helday Idang (มาเลเซีย)

จีนไทเป  1–4  อินโดนีเซีย
  • Lin Chih-hung   30'
รายงาน
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Husain Ali Al-Bahhar (บาห์เรน)
อิหร่าน  9–0  เลบานอน
รายงาน
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Abdulrahman Al-Doseri (บาห์เรน)

กลุ่ม ดี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ญี่ปุ่น 3 2 0 1 9 2 +7 6[a] รอบแพ้คัดออก
2   เวียดนาม 3 2 0 1 8 4 +4 6[a]
3   ซาอุดีอาระเบีย 3 2 0 1 7 4 +3 6[a]
4   เกาหลีใต้ 3 0 0 3 1 15 −14 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 1.2 เสมอด้วยคะแนนเฮด-ทู-เฮด (3). ผลต่างประตู เฮด-ทู-เฮด: ญี่ปุ่น +1, เวียดนาม 0, ซาอุดีอาระเบีย −1.
ญี่ปุ่น  1–2  ซาอุดีอาระเบีย
  • Crepaldi   3'
รายงาน
  • Al-Harthi   11'
  • Fqihe   15'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Anatoliy Rubakov (อุซเบกิสถาน)
เวียดนาม  5–1  เกาหลีใต้
  • Shin Jong-hoon   2' (o.g.)
  • Trần Thái Huy   15'34'
  • Phạm Đức Hoà   17'35'
รายงาน
  • Shin Jong-hoon   1'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: เบญจพล หมู่เจริญทรัพย์ (ไทย)

เกาหลีใต้  0–6  ญี่ปุ่น
รายงาน
  • Seo Jung-woo   5' (o.g.)
  • Oliveira   6'
  • Mizutani   17'
  • Ishida   27'
  • Kanazawa   28'
  • Yoshikawa   39'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ซาอุดีอาระเบีย  1–3  เวียดนาม
  • Châu Đoàn Phát   30' (o.g.)
รายงาน
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Osama Idrees Sedaif (บาห์เรน)

เกาหลีใต้  0–4  ซาอุดีอาระเบีย
รายงาน
  • Ali   4'23'
  • Rudayni   12'39'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Leung Chung Yin (ฮ่องกง)
ญี่ปุ่น  2–0  เวียดนาม
รายงาน
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: พรณรงค์ ไกรรอด (ไทย)

รอบแพ้คัดออก แก้

สายการแข่งขัน แก้

 
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
4 ตุลาคม – ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์
 
 
  ไทย3
 
6 ตุลาคม – ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์
 
  ทาจิกิสถาน2
 
  ไทย0
 
4 ตุลาคม – ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์
 
  อิหร่าน5
 
  อิหร่าน8
 
8 ตุลาคม – ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์
 
  เวียดนาม1
 
  อิหร่าน2
 
4 ตุลาคม – ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์
 
  ญี่ปุ่น3
 
  อุซเบกิสถาน3
 
6 ตุลาคม – ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์
 
  คูเวต0
 
  อุซเบกิสถาน1
 
4 ตุลาคม – ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์
 
  ญี่ปุ่น2 รอบชิงอันดับที่สาม
 
  ญี่ปุ่น3
 
8 ตุลาคม – ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์
 
  อินโดนีเซีย2
 
  ไทย2
 
 
  อุซเบกิสถาน8
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ แก้

อิหร่าน  8–1  เวียดนาม
รายงาน
  • Phạm Đức Hòa   37'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kobayashi (ญี่ปุ่น)

ญี่ปุ่น  3–2  อินโดนีเซีย
รายงาน
  • Eko   21'
  • Dewa   40'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Trương Quốc Dũng (เวียดนาม)

ไทย  3–2  ทาจิกิสถาน
รายงาน
  • Vositzoda   28'
  • Yorov   34'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Ryan Shepheard (ออสเตรเลีย)

อุซเบกิสถาน  3–0  คูเวต
  • A. Rakhmatov   14'
  • Choriev   21'
  • Nishonov   34'
รายงาน
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Ebrahim Mehrabiafshar (อิหร่าน)

รอบรองชนะเลิศ แก้

อุซเบกิสถาน  1–2  ญี่ปุ่น
  • Khamroev   16'
  • Oliveira   22'
  • Kanazawa   29'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Husain Albahhar (บาห์เรน)

ไทย  0–5  อิหร่าน
  • H. Tayyebi   1'
  • Derakhshani   22'27'
  • Oladghobad   23'26'
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี
ผู้ตัดสิน: Fahad Badir (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

นัดชิงอันดับที่ 3 แก้

ไทย  2-8  อุซเบกิสถาน
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี

รอบชิงชนะเลิศ แก้

อิหร่าน  2-3  ญี่ปุ่น
ซาอัด อัล อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์, คูเวต ซิตี

ผู้ทำประตู แก้

มีการทำประตู 170 ประตู จากการแข่งขัน 28 นัด เฉลี่ย 6.07 ประตูต่อนัด


การทำประตู 10 ครั้ง

การทำประตู 6 ครั้ง

การทำประตู 5 ครั้ง

  •   Salim Faisal
  •   Fayzali Sardorov

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

  •   Ahmed Antar
  •   Ammar Hasan Mayhad
  •   Dewa Rizki
  •   Syauqi Saud
  •   Mahdi Karimi
  •   Sora Kanazawa
  •   Soma Mizutani
  •   Kazuya Shimizu
  •   Abdullatif Al-Abbasi
  •   Abdulaziz Al-Basam
  •   Saleh Al-Fadhel
  •   Abdulrahman Al-Tawail
  •   Farhan Ali
  •   Fahad Rudayni
  •   ณรงค์ศักดิ์ วิงวอน
  •   Mülkaman Annagulyýew
  •   Davron Choriev
  •   Shakhram Fakhriddinov
  •   Anaskhon Rakhmatov
  •   Ikhtiyor Ropiev
  •   Elbek Tulkinov
  •   Trần Thái Huy

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

  •   Mustafa Rhyem (ในนัดที่พบกับ อิหร่าน)
  •   Seo Jung-woo (ในนัดที่พบกับ ญี่ปุ่น)
  •   Shin Jong-hoon (ในนัดที่พบกับ เวียดนาม)
  •   Şiri Baýramdurdyýew (ในนัดที่พบกับ ทาจิกิสถาน)
  •   Châu Đoàn Phát (ในนัดที่พบกับ ซาอุดีอาระเบีย)

อ้างอิง แก้

  1. "AFC rebrands age group championships to AFC Asian Cups". AFC. 2 October 2020.
  2. 2.0 2.1 "AFC Futsal Asian Cup 2022 Competition Regulations". AFC.
  3. "AFC Competitions Calendar 2021". AFC.
  4. "Latest update on AFC Competitions in 2021". Asian Football Confederation official website. 25 January 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้